ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับช่วงชั้นที่ 3
Main Article Content
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผล
ต่อการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของ
นักเรียนระดับช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว อำเภอบาง
พลี จังหวัดสมุทรปราการ ปัจจัยที่ศึกษาแบ่งเป็น 3 ปัจจัย คือ
ปัจจัยด้านส่วนตัว ได้แก่ เพศ ระดับชั้น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
และทัศนคติต่อวิชาภาษาอังกฤษ ปัจจัยด้านครอบครัว ได้แก่
ฐานะทาง เศรษฐกิจของครอบครัว ความคาดหวังของผู้ปกครอง
ที่มีต่อนักเรียน และการสนับสนุนของผู้ปกครอง ที่มีต่อนักเรียน
และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ได้แก่ ลักษณะทาง
กายภาพของโรงเรียน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักเรียน
ช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว ปีการศึกษา 2549 จำนวนทั้งสิ้น
180 คน ครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสอบถามปัจจัยที่
ส่งผลต่อการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME สถิติที่ใช้
วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน(The Pearson Product Moment Correlation Coefficient)
และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Stepwise Multiple
Regression Analysis)
ผลการศึกษาพบว่า
1. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเลือกเรียน MINI
ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับช่วงชั้นที่ 3
โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว อำ เภอบางพลี จังหวัด
สมุทรปราการ มีดังนี้
1.1 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการเลือก
เรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับ
ช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว อำเภอบางพลี จังหวัด
สมุทรปราการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05มี 1 ปัจจัย
ได้แก่ การสนับสนุนของผู้ปกครองที่มีต่อนักเรียน ( X10)
1.2ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการเลือก
เรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับ
ช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว อำเภอบางพลี จังหวัด
สมุทรปราการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 4
ปัจจัย ได้แก่ ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปีที่ 3 ( X3) ทัศนคติต่อ
วิชาภาษาอังกฤษ ( X8) ความคาดหวังของผู้ปกครองที่มีต่อ
นักเรียน ( X9) และ ลักษณะทางกายภาพของโรงเรียน ( X11)
2. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ทางลบกับการเลือกเรียน
MINI ENGLISH PROGRAMME ของของนักเรียนระดับช่วง
ชั้นที่ 3 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว อำเภอบางพลี จังหวัด
สมุทรปราการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มี 1
ปัจจัย ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปีที่ 1 ( X3)
3. ปัจจัยที่ไม่มีความสัมพันธ์กับการเลือกเรียน
MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับช่วงชั้นที่
3 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว อำ เภอบางพลี จังหวัด
สมุทรปราการ มี 5 ปัจจัย ได้แก่ เพศ : ชาย ( X1) เพศ :
หญิง ( X2) ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปีที่ 2 ( X4) ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน ( X6) และ ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว (
X7)
4. ปัจจัยที่ส่งต่อการเลือกเรียน MINI ENGLISH
PROGRAMME ของนักเรียนระดับช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนราช
วินิตบางแก้ว อำเภอ บางพลี จังหวัด สมุทรปราการ อย่างมี
นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 2 ปัจจัย โดยเรียงลำดับจากปัจจัยที่ส่งผลมากที่สุดไปหาปัจจัยที่ส่งผลน้อยที่สุด
ได้แก่ ทัศนคติต่อวิชาภาษาอังกฤษ (X8) และ ความคาดหวัง
ของผู้ปกครองที่มีต่อตัวนักเรียน (X9) ซึ่งปัจจัยทั้ง 2 ปัจจัยนี้
สามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของการเลือกเรียน
MINI ENGLISH PROGRAMME ของของนักเรียนระดับช่วง
ชั้นที่ 3 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว อำเภอบางพลี จังหวัด
สมุทรปราการ ได้ร้อยละ 28.80
5. สมการพยากรณ์การเลือกเรียน MINI
ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับช่วงชั้นที่ 3
โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว อำ เภอบางพลี จังหวัด
สมุทรปราการ ในรูปคะแนนดิบ ได้แก่
Ŷ = .735 + .621 X8 + .197X9
สมการพยากรณ์การเลือกเรียน MINI ENGLISH
PROGRAMME ของนักเรียนระดับช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนราช
วินิตบางแก้ว อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ในรูป
คะแนนมาตรฐาน ได้แก่
Z = .481X8 + .140 X9
ต่อการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของ
นักเรียนระดับช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว อำเภอบาง
พลี จังหวัดสมุทรปราการ ปัจจัยที่ศึกษาแบ่งเป็น 3 ปัจจัย คือ
ปัจจัยด้านส่วนตัว ได้แก่ เพศ ระดับชั้น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
และทัศนคติต่อวิชาภาษาอังกฤษ ปัจจัยด้านครอบครัว ได้แก่
ฐานะทาง เศรษฐกิจของครอบครัว ความคาดหวังของผู้ปกครอง
ที่มีต่อนักเรียน และการสนับสนุนของผู้ปกครอง ที่มีต่อนักเรียน
และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ได้แก่ ลักษณะทาง
กายภาพของโรงเรียน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักเรียน
ช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว ปีการศึกษา 2549 จำนวนทั้งสิ้น
180 คน ครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสอบถามปัจจัยที่
ส่งผลต่อการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME สถิติที่ใช้
วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน(The Pearson Product Moment Correlation Coefficient)
และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Stepwise Multiple
Regression Analysis)
ผลการศึกษาพบว่า
1. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเลือกเรียน MINI
ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับช่วงชั้นที่ 3
โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว อำ เภอบางพลี จังหวัด
สมุทรปราการ มีดังนี้
1.1 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการเลือก
เรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับ
ช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว อำเภอบางพลี จังหวัด
สมุทรปราการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05มี 1 ปัจจัย
ได้แก่ การสนับสนุนของผู้ปกครองที่มีต่อนักเรียน ( X10)
1.2ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการเลือก
เรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับ
ช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว อำเภอบางพลี จังหวัด
สมุทรปราการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 4
ปัจจัย ได้แก่ ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปีที่ 3 ( X3) ทัศนคติต่อ
วิชาภาษาอังกฤษ ( X8) ความคาดหวังของผู้ปกครองที่มีต่อ
นักเรียน ( X9) และ ลักษณะทางกายภาพของโรงเรียน ( X11)
2. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ทางลบกับการเลือกเรียน
MINI ENGLISH PROGRAMME ของของนักเรียนระดับช่วง
ชั้นที่ 3 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว อำเภอบางพลี จังหวัด
สมุทรปราการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มี 1
ปัจจัย ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปีที่ 1 ( X3)
3. ปัจจัยที่ไม่มีความสัมพันธ์กับการเลือกเรียน
MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับช่วงชั้นที่
3 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว อำ เภอบางพลี จังหวัด
สมุทรปราการ มี 5 ปัจจัย ได้แก่ เพศ : ชาย ( X1) เพศ :
หญิง ( X2) ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปีที่ 2 ( X4) ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน ( X6) และ ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว (
X7)
4. ปัจจัยที่ส่งต่อการเลือกเรียน MINI ENGLISH
PROGRAMME ของนักเรียนระดับช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนราช
วินิตบางแก้ว อำเภอ บางพลี จังหวัด สมุทรปราการ อย่างมี
นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 2 ปัจจัย โดยเรียงลำดับจากปัจจัยที่ส่งผลมากที่สุดไปหาปัจจัยที่ส่งผลน้อยที่สุด
ได้แก่ ทัศนคติต่อวิชาภาษาอังกฤษ (X8) และ ความคาดหวัง
ของผู้ปกครองที่มีต่อตัวนักเรียน (X9) ซึ่งปัจจัยทั้ง 2 ปัจจัยนี้
สามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของการเลือกเรียน
MINI ENGLISH PROGRAMME ของของนักเรียนระดับช่วง
ชั้นที่ 3 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว อำเภอบางพลี จังหวัด
สมุทรปราการ ได้ร้อยละ 28.80
5. สมการพยากรณ์การเลือกเรียน MINI
ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับช่วงชั้นที่ 3
โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว อำ เภอบางพลี จังหวัด
สมุทรปราการ ในรูปคะแนนดิบ ได้แก่
Ŷ = .735 + .621 X8 + .197X9
สมการพยากรณ์การเลือกเรียน MINI ENGLISH
PROGRAMME ของนักเรียนระดับช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนราช
วินิตบางแก้ว อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ในรูป
คะแนนมาตรฐาน ได้แก่
Z = .481X8 + .140 X9
Downloads
Download data is not yet available.
Article Details
How to Cite
ซูกูล ส., กรีทอง ร., & จุลรัตน์ อ. ด. พ. (2009). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกเรียน MINI ENGLISH PROGRAMME ของนักเรียนระดับช่วงชั้นที่ 3. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ ศรีนครินทรวิโรฒ, 8(3). Retrieved from https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jedu/article/view/467
Section
บทความวิจัย (Research Articles)