ครูมือใหม่จะเริ่มสอนโครงงานวิทยาศาสตร์อย่างไรดี

Main Article Content

สุระ วุฒิพรหม

Abstract

How Do Novice Teachers Teach Science Fair Project?
 
Sura Wuttiprom
 
รับบทความ: 25 สิงหาคม 2554; ยอมรับตีพิมพ์: 5 กันยายน 2554
 
บทคัดย่อ
การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้โครงงานเป็นฐาน เป็นหัวใจของการปฏิรูปการศึกษา เนื่องจากส่งเสริมให้ผู้เรียนแต่ละคนได้พัฒนาตนเองอย่างเต็มตามศักยภาพ แม้ว่าการจัดกระบวนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้โครงงานไม่ใช่แนวคิดใหม่ แต่ไม่ใช่เรื่องง่ายสำหรับครูมือใหม่ ดังนั้นบทความนี้จึงได้นำเสนอแนวทาง เทคนิค กิจกรรม และแหล่งเรียนรู้ทางอินเตอร์เน็ต สำหรับให้ครูมือใหม่นำไปใช้ในห้องเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
คำสำคัญ: โครงงานวิทยาศาสตร์  ครูมือใหม่  การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
 
Abstract
Project-based science management is the heart of education reform because of promoting individual students to develop themselves efficiently.  Although project-based science management is not a new approach, it is not easy to novice teachers.  The aims of this article is thus to present approaches, techniques, activities and online resources for effective implementation into the classroom.
Keywords: Science fair project, Novice teacher, Science learning management

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

Section
บทความวิชาการ (Academic Article)

References

จารุวรรณ เสียงไพเราะ ศักดิ์ศรี สุภาษร และกิติยา วงษ์ขัน. (2554, กรกฎาคม). การพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ชุดการเรียนรู้แบบโครงงานวิทยาศาสตร์เป็นฐาน เรื่องพอลิเมอร์ธรรมชาติ. การประชุมวิชาการระดับ ชาติมหาวิทยาลัยบูรพา (หน้า 1–15), มหาวิทยาลัยบูรพา ชลบุรี.

นิพนธ์ ศรีนฤมล ณัฐนรี ศิริวัน กรวิชญ์ นิยมเสถียร และ ณัฐพล สุโภไค. (2551). บันทึกประสบการณ์โครงงานวิทยาศาสตร์ดีเด่น ระดับโลกรูปแบบการหุบของใบไมยราบ. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (ฉบับเต็ม สืบค้นได้จาก URL: http://www.thaigifted.org/system/file/pdffile/159.pdf)

นิพนธ์ ศรีนฤมล ทนงศักดิ์ ชินอรุณชัย สุขสันต์ อิทธิปัญญา-นนท์ และครองรัฐ สุวรรณศรี. (2550). บันทึกประสบการณ์โครงงานวิทยาศาสตร์ดีเด่นการ แตกของฝักต้อยติ่ง. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการ ศึกษา. (ฉบับเต็ม สืบค้นได้จาก URL: http://www.thaigifted.org/system/file/pdffile/167.pdf)

รมิดา ชาญประโคน. (2553). การพัฒนาการคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์โดยใช้กิจกรรมชุมนุมเยาวชนนักประดิษฐ์คิดค้นของนักเรียนมัธยมศึกษาช่วงชั้นที่ 3. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ 1(1): 1–11.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2546). การจัดสาระการเรียนรู้กลุ่มวิทยาศาสตร์ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2546. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.

สมเกียรติ พรพิสุทธิมาศ. (2551). โครงงานวิทยาศาสตร์: เรียนรู้หรือเลียนแบบ. นิตยสาร สสวท. 36(155): 80–81.

Hand, B., and Keys, C. (1999). Inquiry investigation: A new approach to laboratory reports. Sci. Teach. 66(4): 27-29.

Hassard, J. (1999). Science as Inquiry. NJ, USA: Good Year Books.

Gallagher, S. A., Sher, B. T., Stepien, W. J., and Workman, D. (1995). Implementing problem-based learning in science classrooms. Sch. Sci. Math. 95(3): 136–146.

Goodnough, K., and Cahsion, M. (2003). Fostering inquiry through problem-based learning. Sci. Teach. (Normal, Ill.) 70(9): 21–25.

Montes, I., Lai, C., and Sanabria, D. (2003). Like dissolves like: A classroom demonstration and a guided-inquiry experiment for organic chemistry. J. Chem. Educ. 80: 447–449.

National Research Council. (2000). Inquiry and the National Science Education Standards: A Guide for Teaching and Learning. Washington, DC: National Academy Press.

Sanger, M.J. (2008). How does inquiry-based instruction affect teaching majors’ views about teaching and learning science? J. Chem. Educ. 85: 297–302.

Most read articles by the same author(s)