การบรรยายเชิงปฏิสัมพันธ์วิชาฟิสิกส์ระดับมหาวิทยาลัยเพื่อพัฒนาความเข้าใจแนวคิดเรื่องแม่เหล็กไฟฟ้า
Main Article Content
Abstract
Sura Wuttiprom and Chaweewan Chaiwattana
รับบทความ: 10 มีนาคม 2554; ยอมรับตีพิมพ์: 11 พฤษภาคม 2554
บทคัดย่อ
วิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วย worksheet (ไกด์สำหรับการจดเล็คเชอร์) ร่วมกับ D4L+P (ระบบการจัดการเรียนรู้) ในการพัฒนาความเข้าใจแนวคิดเรื่องแม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มตัวอย่างได้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยอุบลราชธานีจำนวน 843 คนที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาฟิสิกส์ทั่วไป 2 ปีการศึกษา 2551 โดยแบ่งเป็น 6 กลุ่มตามสาขาวิชา เฉลี่ยกลุ่มละประมาณ 150 คน อาจารย์และรูปแบบการจัดการเรียนรู้ในแต่ละกลุ่มแตกต่างกัน เครื่องมือตรวจสอบความเข้าใจแนวคิดคือแบบทดสอบแนวคิดเชิงวิทยาศาสตร์มาตรฐานเรื่องแม่เหล็กไฟฟ้า ผลการเปรียบเทียบคะแนนก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้แสดงให้เห็นว่ากลุ่มที่จัดการเรียนรู้โดยใช้ worksheet ร่วมกับ D4L+P มีความเข้าใจแนวคิดเรื่องแม่เหล็กไฟฟฟ้าสูงกว่ากลุ่มที่ไม่ได้เรียนด้วยรูปแบบนี้
คำสำคัญ: D4L+P Worksheet แม่เหล็กไฟฟ้า
Abstract
The objectives of this study were to investigate lower secondary school students’ knowledge on mangrove ecosystems, to develop an integrated learning package on mangrove ecosystems, and to study the effect of developed learning packages on students’ knowledge. The participants of this study were 32 eighth-grade students which were randomized using purposive sampling technique. These participants attended the developed learning package in second semester of academic year 2010. The developed learning package composes of various activities such as games, lecture from local sage, teacher and researcher, field trips in local ecosystems, discussion with local sages, and self-study. Data collections using the questionnaires and multiple choice items were conducted for the knowledge assessment. The statistical analysis including mean, standard deviation, frequencies, paired sample t-test, and normalized gain were conducted for data analysis. The results of the study indicated the significant difference in knowledge between pre-test and post-test knowledge scores and all students’ average normalized gain is low gain (0.17).
Keywords: D4L+P, Worksheet, Electromagnetism
Downloads
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial 4.0 International License.
References
สุภาพร พรไตร. (2552, พฤศจิกายน). The Effectiveness of Predict-Observe-Explain Technique in Diagnosing Students’ Understanding and Identifying Their Level of Achievement in Biochemistry. บทคัดย่อใน การประชุมวิชาการการจัดการเรียนรู้สู่ปฏิบัติจริงในระดับอุมศึกษาครั้งที่ 1 การเปลี่ยนผลการเรียนรู้ (Co-HELP 2009) ณ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อุบลราชธานี.
ช่อทิพย์ กัณฑโชติ. (2552, พฤศจิกายน). การใช้ T5 Model ร่วมกับ D4L+P ในการสอนชีววิทยาเบื้องต้น II สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี. บทคัดย่อใน การประชุมวิชาการการจัดการเรียนรู้สู่ปฏิบัติจริงในระดับอุมศึกษาครั้งที่ 1 การเปลี่ยนผลการเรียนรู้ (Co-HELP 2009) ณ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อุบลราชธานี.
อรรถพล แท่นแก้ว และสุระ วุฒิพรหม. (2554). T5 Model: สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่สนับสนุนการประเมินผลระหว่าง กลุ่มมผู้เรียนในวิชาฟิสิกส์. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีภาคเหนือ 3(พิเศษ): 51-59.
ธันยาภัทร เธียรทองอินทร กานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา และอริสรา อิสสะรียะ. (2554). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่องปริมาณสารสัมพันธ์โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบทีไฟว์กระดาษ. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีภาคเหนือ 3(พิเศษ): 256-263.
Wilson, K., and Korn, J. H. (2007). Attention during lectures: Beyond ten minutes. Teach. Psychol. 34(2): 85-89.
Kobayashi, K. (2006). Combined effects of note taking reviewing on learning and the enhancement through interventions: A meta-analytic review. Educ. Psychol. 26(3): 459-477.
Kiewra, K. A. (2002). How classroom teachers can help students learn and teach them how to learn. Theory into Practice. 41(2): 71-80.
Neef, N. A., McCore, B. E., and Ferreri, S. J. (2006). Effect of guided notes versus completed notes during lectures on college students’s quiz per-formance. J. Appl. Behav. Anal. 39(1): 123-130.
Thornton, R., and Sokoloff, D. (1998). Assessing student learning of Newton's laws: The force and motion conceptual evaluation and the evaluation of active learning laboratory and lecture curricula. Amer. J. Phys. 66(4): 338-352.
Maloney, D., O'Kuma, T., Hieggelke, C., and van Heuvelen, A. (2001). Surveying students' conceptual knowledge of electricity and magnetism. Amer. J. of Phys. 66(S1): S12-23.
Narjaikaew, P., Emarat, N., and Cowie, B. (2009). The effect of guided note taking during lecture on Thai university student’s understanding of electromagnetism. Res. Sci. Technol. Educ. 27(1): 75-94.