วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ (Journal of Research Unit on Science, Technology and Environment for Learning)
https://ejournals.swu.ac.th/index.php/JSTEL
หน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้en-USวารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ (Journal of Research Unit on Science, Technology and Environment for Learning)1906-9790รูปแบบการทำนิพนธ์ต้นฉบับ
https://ejournals.swu.ac.th/index.php/JSTEL/article/view/15034
<p>-</p>สมเกียรติ พรพิสุทธิมาศ
Copyright (c) 2023 วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ (Journal of Research Unit on Science, Technology and Environment for Learning)
https://creativecommons.org/licenses/by-nc/4.0
2023-01-312023-01-31141กองบรรณาธิการ
https://ejournals.swu.ac.th/index.php/JSTEL/article/view/15033
<p><strong>ที่ปรึกษา</strong></p> <p> </p> <p>คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ</p> <p>(ศาสตราจารย์ ดร.ปรินทร์ ชัยวิสุทธางกูร)</p> <p> </p> <p><strong>บรรณาธิการ</strong></p> <p> </p> <p>ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมเกียรติ พรพิสุทธิมาศ</p> <p> </p> <p><strong>บรรณาธิการจัดการ</strong></p> <p> </p> <p>ผู้่ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรศักดิ์ ละลอกน้ำ</p> <p> </p> <p><strong>กองบรรณาธิการ</strong></p> <p> </p> <p>ศาสตราจารย์ ดร.วรรณทิพา รอดแรงค้า / สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี</p> <p> </p> <p>ศาสตราจารย์ ดร.อรินทิพย์ ธรรมชัยพิเนต / มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์</p> <p> </p> <p>รองศาสตราจารย์ ดร.กานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา / มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี</p> <p> </p> <p>รองศาสตราจารย์ ดร.ดวงเดือน สุวรรณจินดา / มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช</p> <p> </p> <p>รองศาสตราจารย์ ดร.ประสาท เนืองเฉลิม / มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</p> <p> </p> <p>รองศาสตราจารย์ ดร.พัดตาวัน นาใจแก้ว / มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี</p> <p> </p> <p>รองศาสตราจารย์ ดร.พรรณี ลีกิจวัฒนะ / สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง</p> <p> </p> <p>รองศาสตราจารย์ ดร.พิชาภัค ศรียาภัย / มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ</p> <p> </p> <p>รองศาสตราจารย์ ดร.ศักดิ์ศรี สุภาษร /มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี</p> <p> </p> <p>รองศาสตราจารย์ ดร.สุระ วุฒิพรหม / มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี</p> <p> </p> <p>รองศาสตราจารย์ ดร.เสาวรัตน์ จันทะโร / จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย</p> <p> </p> <p>รองศาสตราจารย์ ดร.โสภณ บุญลือ / มหาวิทยาลัยขอนแก่น</p> <p> </p> <p>รองศาสตราจารย์ ดร.อภิเดช แสงดี / มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</p> <p> </p> <p>รองศาสตราจารย์พเยาว์ ยินดีสุข / จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย</p> <p> </p> <p>ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กุลธิดา นุกูลธรรม / มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์</p> <p> </p> <p>ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขวัญ เพียซ้าย / มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ</p> <p> </p> <p>ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขวัญจิต เหมะวิบูลย์ /มหาวิทยาลัยนเรศวร</p> <p> </p> <p>ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จันทิมา ปิยะพงษ์ / มหาวิทยาลัยบูรพา</p> <p> </p> <p>ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จุมพต พุ่มศรีภานนท์ / มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ</p> <p> </p> <p>ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฏฐ์ ดิษเจริญ / มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี</p> <p> </p> <p>ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เชาวรีย์ อรรถลังรอง / มหาวิทยาลัยศิลปากร</p> <p> </p> <p>ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทัศนียา ร. นพรัตน์แจ่มจำรัส / มหาวิทยาลัยมหิดล</p> <p> </p> <p>ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประภากร ธาราฉาย / มหาวิทยาลัยแม่โจ้</p> <p> </p> <p>ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยรัตน์ ดรบัณฑิต / มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ</p> <p> </p> <p>ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เยาวนิตย์ ธาราฉาย / มหาวิทยาลัยแม่โจ้</p> <p> </p> <p>ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วุฒินันท์ รักษาจิตร์ / มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์</p> <p> </p> <p>ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิรินันท์ แก่นทอง / มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ</p> <p> </p> <p>ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนิษฐาน ศรีนวล / มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ</p> <p> </p> <p>ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อโนชา หมั่นภักดี / มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ</p> <p> </p> <p>ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรุณ ชาญชัยเชาว์วิวัฒน์ / มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา</p> <p> </p> <p>อาจารย์ ดร.กานต์ยุพา จิตติวัฒนา / มหาวิทยาลัยมหิดล</p> <p> </p> <p>อาจารย์ ดร.ธีรวัฒนา ภาระมาตย์ / มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์</p> <p> </p> <p>ดร.สมบัติ คงวิทยา /กรมวิทยาศาสตร์บริการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี</p> <p> </p> <p>คุณวรรณวิมล เมฆบุญส่งลาภ / ศูนย์เครื่องมือวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย</p> <p> </p> <p>Prof. Dr. Wee Tiong Seah / Melbourne Graduate School of Education, The University of Melbourne 234 Queensberry Street Victoria 3010, Australia</p> <p> </p> <p>Dr. Bin Hong /China Institute of Medical Biotechnology, Chinese Academy of Medical Sciences and Peking Union Medical College, Taintanxili #1, Beijing 100050, China</p> <p> </p> <p>Dr. Vandna Rai / National Research Centre on Plant Biotechnology, Indian Agriculture Research Institute, New Delhi 110012, India</p> <p> </p> <p><strong>ฝ่ายศิลป์และภาพ</strong></p> <p> </p> <p>นายสัญญา พาลุน</p> <p> </p> <p><strong>ฝ่ายจัดการและเลขานุการ</strong></p> <p> </p> <p>นางชลรดา สารทสมัย</p>สมเกียรติ พรพิสุทธิมาศ
Copyright (c) 2023 วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ (Journal of Research Unit on Science, Technology and Environment for Learning)
https://creativecommons.org/licenses/by-nc/4.0
2023-01-312023-01-31141การติดตามการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศน์หนองหานกุมภวาปีที่มีผลต่อการท่องเที่ยววิถีชุมชนด้วยการสำรวจระยะไกล
https://ejournals.swu.ac.th/index.php/JSTEL/article/view/14296
<p>Monitoring the Change of Vegetation in Nong Han Kumphawapi Impacting to Tourist–boat Sailing using Remote Sensing</p> <p> </p> <p>Prawit Suwannarong, Aschara Namthaisong and Songphon Prayochmee</p> <p> </p> <p><strong>รับบทความ</strong><strong>:</strong> 25 มีนาคม 2565;<strong> แก้ไขบทความ: </strong>12 ตุลาคม 2565;<strong> ยอมรับตีพิมพ์: </strong>2 พฤศจิกายน 2565; <strong>ตีพิมพ์ออนไลน์</strong>: 31 มกราคม 2566 (Abstract)</p> <p> </p> <p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p>บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศหนองหานกุมภวาปีสำหรับใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการจัดการเดินเรือท่องเที่ยวทะเลบัวแดง จังหวัดอุดรธานี โดยการใช้การสำรวจระยะไกลในการติดตามการเปลี่ยนแปลงลักษณะการปกคลุมผิวน้ำด้วยการตีความด้วยสายตาและติดตามการเปลี่ยนแปลงขนาดพื้นที่การปกคลุมพื้นผิวเชิงเลขด้วยดัชนีพื้นที่ใบ (LAI) ผลการ ศึกษาพบว่าในช่วงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2558 ถึง มกราคม พ.ศ. 2563 หนองหานกุมภวาปีมีขนาดพื้นที่การปกคลุมของพืชพรรณต่ำหรือเป็นบริเวณผิวน้ำ สูงสุดเท่ากับ 12,276 ไร่ ต่ำสุดเท่ากับ 1,661 ไร่ เฉลี่ย 7,198 ไร่ มีแนวโน้มลดลง มีขนาดพื้นที่การปกคลุมของพืชพรรณปานกลางจำพวกบัวสาย สูงสุดเท่ากับ 17,218 ไร่ ต่ำสุดเท่ากับ 5,047 ไร่ มีค่าเฉลี่ย 9,989 ไร่ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น มีขนาดพื้นที่การปกคลุมของพืชพรรณหนาแน่นสูงจำพวกสนุ่น สูงสุดเท่ากับ 8,251 ไร่ ต่ำสุดเท่ากับ 1,378 ไร่ มีค่าเฉลี่ย 4,952 ไร่ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น นอกจากนี้พบว่าขนาดพื้นที่พืชพรรณหนาแน่นสูงจำพวกสนุ่นมีการกระจายตัวสูงสุดในช่วงเดือนมิถุนายนถึงเดือนธันวาคมซึ่งอยู่นอกฤดูกาลท่องเที่ยว จึงเป็นอุปสรรคต่อการเดินเรือท่องเที่ยวน้อย แต่อาจส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของบัวสายได้ในอนาคต</p> <p><strong>คำสำคัญ</strong><strong>: </strong>การสำรวจระยะไกล ดัชนีพื้นที่ใบ หนองหานกุมภวาปี การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ</p> <p> </p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>This research aimed to monitor the change of the ecosystem in Nong Han Kumphawapi to use as background information for Tourist–boat Sailing management at Talay Bua Daeng in Udon Thani province by using remote sensing to monitor the change in water surface area, using visual interpretation and monitoring the change of occupied area of the vegetation with Leaf Area Index (LAI). The results of this study revealed that during December 2015 until January 2020, Nong Han Kumphawapi had a low vegetation covered water surface area or it can be calculated as the highest water surface area was 12,276 rai and 1,661 rai for the lowest, the average was 7,298 rai, which tended to decrease. A medium vegetation covered water surface area such as lotus, by the highest, lowest and average of water surface area at 17,218 rai, 5,047 rai and 9,989 rai, resepectively, which tended to increase. A high–density vegetation water covered surface area, such as willow, by the highest, lowest and average at 8,251 rai, 1,387 rai and 4,952 rai, respectively, which tended to increase. Furthermore, there was a high–density vegetation surface area as willows were highly dispersed from June to December, which was not occurring in the tourist season. Therefore, it was less of an obstacle impacting on tourist sailing, but may impact on the growth of lotus in the future.</p> <p><strong>Keywords: </strong>Remote sensing, Leaf area index, Nong Han Kumphawapi<strong>, </strong>Climate change</p>ประวิทย์ สุวรรณรงค์อัสฉรา นามไธสงทรงพล ประโยชน์มี
Copyright (c) 2023 วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ (Journal of Research Unit on Science, Technology and Environment for Learning)
https://creativecommons.org/licenses/by-nc/4.0
2023-01-312023-01-31141AbstractAbstractแนวคิดข้ามศาสตร์ในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้สะเต็มศึกษา
https://ejournals.swu.ac.th/index.php/JSTEL/article/view/14551
<p>Crosscutting Concepts Embedded in the STEM Activities</p> <p> </p> <p>Kornkanok Lertdechapat and Atsawanonthapakorn Thanetweeraphat</p> <p> </p> <p><strong>รับบทความ</strong><strong>: </strong>4 กรกฎาคม 2565;<strong> แก้ไขบทความ: </strong>27 ตุลาคม 2565;<strong> ยอมรับตีพิมพ์: </strong>26 พฤศจิกายน 2565; คีพิมพ์ออนไลน์: 3 กุมภาพันธ์ 2566 (Abstract)</p> <p> </p> <p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p>แนวคิดข้ามศาสตร์เป็นมิติหนึ่งของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเชื่อมโยงแนวคิดหลักและแนวปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ เพื่อให้ปฏิบัติกิจกรรมสะเต็มได้อย่างเข้าใจและมีความหมาย อย่างไรก็ตามงานวิจัยที่นำเสนอความเข้าใจของครูก่อนประจำการเกี่ยวกับแนวคิดข้ามศาสตร์ในการออกแบบบทเรียนสะเต็มศึกษานั้นยังไม่ปรากฏมากนัก งานวิจัยนี้จึงมุ่งวิเคราะห์แนวคิดข้ามศาสตร์ปรากฏในบทเรียนสะเต็มตามมุมมองของครูก่อนประจำการ แหล่งข้อมูลคือ แผนการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา 14 แผน ที่ออกแบบโดยครูก่อนประจำการ รวมทั้งสิ้น 14 กลุ่ม ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลโดยการนับความถี่ของแนวคิดข้ามศาสตร์ที่ปรากฏในแผนการจัดการเรียนรู้ ใช้การวิเคราะห์เนื้อหาร่วมกับการวิเคราะห์อุปนัยเพื่ออธิบายลักษณะย่อยของแนวคิดข้ามศาสตร์ ผลการวิจัยสะท้อนว่า แม้ว่าแนวคิดข้ามศาสตร์ทั้ง 7 ประการจะมีความสัมพันธ์กัน แต่ครูก่อนประจำการมองแยกออกจากกัน แนวคิดข้ามศาสตร์ที่ระบุในแผนการจัดการเรียนรู้มากที่สุด คือ มาตราส่วน สัดส่วน และปริมาณ เนื่องจากครูก่อนประจำการคุ้นชินกับการออกแบบชิ้นงานโดยแสดงขนาด จำนวน หรือข้อมูลเชิงตัวเลข ส่วนแนวคิดข้ามศาสตร์ที่ไม่ปรากฏคือ แบบแผน อาจเนื่องมาจากครูก่อนประจำการอาจไม่เข้าใจลักษณะของแบบแผนที่ปรากฏอยู่ในบทเรียนสะเต็มที่ออกแบบ และมีประสบการณ์เกี่ยวกับแนวคิดสะเต็มไม่มากพอที่จะระบุและขยายความรายละเอียดของแนวคิดข้ามศาสตร์ดังกล่าวในบทเรียนนั้น ๆ</p> <p><strong>คำสำคัญ</strong><strong>: </strong>แนวคิดข้ามศาสตร์ สะเต็มศึกษา ครูก่อนประจำการ</p> <p> </p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>The dimension of crosscutting concepts (CCCs), one of the science learning dimensions, encourage students to meaningfully make the connection among the disciplinary core ideas, and the science and engineering practices to promote their understanding in STEM practices. However, there have been few previous research focus on preservice teachers’ understanding about CCCs for designing STEM lessons. Therefore, this research aims to analyze the CCCs which were embedded in the fourteen STEM lesson plans. Each lesson plan was designed by a group of preservice teachers. The data were analyzed by counting frequencies of CCCs which were explicitly addressed in all fourteen lesson plans. The researchers also employed content analysis and inductive analysis to analyze and explain sub-characteristics of the CCCs. The findings indicated that the CCCs which were addressed in the STEM lesson plans were considered as separated concepts although they were related to each other. The highest frequency of CCCs that showed across fourteen STEM lesson plan was <em>Scale, Proportion, and Quantity</em>, because the preservice teachers were accustomed to design products illustrated size, numbers, or figures. On the contrary, CCCs which were not addressed in any lesson plans were in <em>Pattern</em>, since the preservice teachers may not understand the characteristics of pattern in their own lesson, and they seem to have a little experience of STEM conceptions for specifying and elaborating more details about CCCs in their STEM lessons.</p> <p><strong>Keywords: </strong>Crosscutting concepts, STEM education, Preservice teachers</p>กรกนก เลิศเดชาภัทร อัศวนนทปกรณ์ ธเนศวีรภัทร
Copyright (c) 2023 วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ (Journal of Research Unit on Science, Technology and Environment for Learning)
https://creativecommons.org/licenses/by-nc/4.0
2023-02-032023-02-03141ผลของการฉายรังสีแกมมาต่อการยืดอายุการเก็บรักษาและคุณภาพของกล้วยหอมทอง
https://ejournals.swu.ac.th/index.php/JSTEL/article/view/14403
<p>Effect of Gamma Irradiation on Shelf Life Extension and Quality of Gros Michel Banana (<em>Musa acuminata</em>) (AAA group)</p> <p> </p> <p>Teerarat Chaemchaiyaporn and Pakorn Tangpong</p> <p> </p> <p><strong>รับบทความ</strong><strong>: </strong>20 พฤษภาคม 2565; <strong>แก้ไขบทความ: </strong>1 พฤศจิกายน 2565;<strong> ยอมรับตีพิมพ์: </strong>22 พฤศจิกายน 2565;<strong> ตีพิมพ์ออนไลน์:</strong> 31 มกราคม 2566 (Abstract)</p> <p> </p> <p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p>กล้วยหอมทอง (<em>Musa acuminata</em> AAA group) เป็นพืชเศรษฐกิจสำคัญของประเทศไทย ที่ส่งขายทั้งในประเทศและต่างประเทศ แต่มีปัญหาในการขนส่งโดยเฉพาะการขนส่งไปต่างประเทศที่ต้องใช้เวลานานอาจทำให้กล้วยหอมทองสุกก่อนไปถึงประเทศปลายทาง และการสุกของผลกล้วยในหวีเดียวกันอาจเกิดไม่สม่ำเสมอกัน จึงได้มีความสนใจศึกษาเกี่ยวกับการใช้รังสีแกมมาในการยืดอายุการเก็บรักษาและการใช้สารกลุ่มเอทิลีนกระตุ้นการสุกของผลกล้วยหอมทองที่ผ่านการฉายรังสีแกมมา รวมทั้งผลที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและทางเคมีของผลกล้วยหอมทองด้วย โดยใช้ผลกล้วยหอมทองอายุ 60 วันหลังการตัดหัวปลี พบว่า การใช้รังสีแกมมาปริมาณ 0.5 1 1.5 และ 2 กิโลเกรย์ (kGy) สามารถยืดอายุการสุกของกล้วยหอมทองได้ถึง 14 วัน เมื่อเก็บที่อุณหภูมิห้อง ผลกล้วยหอมทองที่ได้รับรังสีแกมมา 0.5 และ 1 กิโลเกรย์เมื่อสุกผลมีสีเหลืองตามปกติ แต่ที่ 1.5 และ 2 กิโลเกรย์ ผลกล้วยหอมทองจะมีรอยดำและสีคล้ำปรากฏที่เปลือกภายหลัง 6–9 วันหลังการฉายรังสี การฉายรังสีโดยเฉพาะที่อัตราสูงทำให้ค่าความแน่นเนื้อเพิ่มขึ้นแต่ความหวานและปริมาณกรดมาลิก ลดลง (รังสีที่อัตราต่ำทำให้ปริมาณแทนนินเพิ่มขึ้นแต่ที่อัตราสูงปริมาณแทนนินกลับต่ำลง) การบ่มผลกล้วยหอมทองที่ผ่านการฉายรังสีแกมมา 1 กิโลเกรย์และทิ้งไว้เป็นเวลา 7 วันด้วยอีทีฟอน 600 ppm (ทั้งจุ่มและพ่น) และแคลเซียมคาร์ไบด์ 3 g/0.0189 cm<sup>3</sup> ทำให้ผลกล้วยหอมทองสุกในเวลา 3 วัน ผลกล้วยหอมทองมีสีเหลืองและมีความสว่างของสีเปลือกเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะการบ่มด้วยการจุ่มด้วยอีทีฟอนทำให้ค่าความสว่างของสีเปลือกเพิ่มขึ้นมากที่สุด แต่ค่าสีเขียวของทุกกรรมวิธีกลับลดลงเมื่อเทียบกับชุดควบคุม การบ่มทั้ง 3 กรรมวิธียังทำให้ความแน่นเนื้อและปริมาณแทนนินของผลกล้วยหอมทองลดลง แต่ทำให้ความหวานและปริมาณกรดมาลิกเพิ่มมากขึ้นเมื่อเทียบกับชุดควบคุมเช่นเดียวกับการบ่มกล้วยหอมทองที่ไม่ได้ผ่านการฉายรังสี ดังนั้นการฉายรังสีแกมมาที่อัตราต่ำแก่ผลกล้วยหอมทองสามารถยืดอายุการสุกของกล้วยหอมทองได้โดยที่คุณภาพของผลไม่ได้รับผลกระทบ สามารถนำมาพัฒนาเพื่อใช้ในการขนส่งกล้วยหอมทองได้</p> <p><strong>คำสำคัญ</strong><strong>: </strong>กล้วยหอมทอง อีทีฟอน แคลเซียมคาร์ไบด์ รังสีแกมมา การสุก</p> <p> </p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>The Gros Michel banana (<em>Musa acuminata</em>) (AAA group) is one of Thailand’s critical economic fruits for export and domestic consumption. However, the major problem with banana exportation is that the fruit is frequently ripe before reaching the consumer during a long transportation. Moreover, the ripening of each fruit in the same hand is usually uneven. These pushed the researchers interested in studying the use of gamma–ray to delay fruit ripening and ethylene group hormones to activate banana ripening, including influences on physical and chemical change. The studies were performed using Gros Michel banana 60 days after cutting the male flower bud from the bunch. It was found that applying gamma–ray at 0.5, 1.0, 1.5, and 2.0 kilogray (kGy) to the Gros Michel banana at ambient temperature delayed the ripening of the fruit to 14 days. Furthermore, banana fruits treated with the lower dose of gamma-ray (0.5 and 1.0 kGy) showed standard yellow color after ripening. In contrast, those who received the higher dose (1.5 and 2.0 kGy) developed dark brown flecks on peels 6–9 days after irradiation. Gamma–ray, in this study, raised firmness value but diminished the sweetness and malic acid content of the banana fruits, particularly at high doses. To ripen banana fruits after irradiated with 1 kGy and left for 7 days at room temperature, it was encountered that both ethephon at 600 ppm (by dipping or spraying) and calcium carbide at 3 g/0.0189 m<sup>3</sup> induced ripening of the fruits in 3 days afterward. In addition, the fruits had more elevated values of brightness and yellowness of peel color, especially the ethephon treatment without irradiation, while reduced in green compared to the control. Furthermore, the two ripening chemicals also rendered higher sweetness and malic acid content values. Never-theless, bananas decreased firmness and tannin content in the fruit pulp of irradiated bananas, similar to those unirradiated in the former experiment. These indicated that ethephon and calcium carbide, at reasonable rates, could be employed to induce banana ripening. On the other hand, irradiation at 1 kGy could slow the ripening of Gros Michel banana for about 14 days without any effect on the fruit's qualities after ripening</p> <p><strong>Keywords: </strong>Gros Michel banana, Ethephon, Calicum carbide, Gamma–ray, Ripening</p>ธีรารัตน์ แช่มชัยพรปกรณ์ ตั้งปอง
Copyright (c) 2023 วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ (Journal of Research Unit on Science, Technology and Environment for Learning)
https://creativecommons.org/licenses/by-nc/4.0
2023-01-312023-01-31141