ปัจจัยที่ส่งผลต่อการวางแผนการใช้เวลาเรียนที่ เหมาะสมของนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนบ้านสำราญ จังหวัดนครพนม
Main Article Content
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษา ปัจจัยที่ส่งผล
ต่อการวางแผนการใช้เวลาเรียนที่เหมาะสมของนักเรียนช่วงชั้น
ที่ 3 โรงเรียนบ้านสำราญ จังหวัดนครพนม โดยจำแนกปัจจัยที่
ศึกษาเป็น 3 ด้านคือ ปัจจัยด้านส่วนตัว ได้แก่ เพศ ระดับชั้น
นิสัยทางการเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน บุคลิกภาพ และ
แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ทางการเรียน ปัจจัยด้านครอบครัว ได้แก่
ภาระ งานที่ได้รับมอบหมาย ความคาดหวังของ ผู้ปกครองและ
ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัวและปัจจัยทางด้าน
สภาพแวดล้อม ทางการเรียน ได้แก่ การเลียนแบบ อาจารย์
และการ เลียนแบบเพื่อน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนช่วงชั้นที่
3 โรงเรียนบ้านสำราญ จังหวัดนครพนม ปีการศึกษา 2550
จำ นวน 120 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่
แบบสอบถามวางแผนการใช้เวลาเรียนที่เหมาะสมของ
นักเรียนช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนบ้านสำราญ จังหวัดนครพนม
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ การวิเคราะห์ค่า
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์การ
ถดถอยพหุคูณ
1. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการวาง
แผนการใช้เวลาเรียนที่เหมาะสมของนักเรียนช่วงชั้นที่ 3
โรงเรียนบ้านสำราญ จังหวัดนครพนม อย่างมีนัยสำคัญทาง
สถิติที่ระดับ .01 มี 6 ปัจจัย ได้แก่ นิสัยทางการเรียน ( x8)
บุคลิกภาพ (x9) แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ทางการเรียน ( x10)
ภาระงานที่ได้รับมอบหมายในครอบครัว ( x11) ความ
คาดหวังของผู้ปกครอง ( x12) และการเลียนแบบอาจารย์ (
x13) และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ทางบวกกับนักเรียนช่วงชั้น
ที่ 3 โรงเรียนบ้านสำราญ จังหวัดนครพนม อย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติที่ระดับ .05 มี 1 ปัจจัย ได้แก่ ระดับชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 1 ( x3)
2. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ทางลบกับการวาง
แผนการใช้เวลาเรียนที่เหมาะสมของนักเรียนช่วงชั้นที่ 3
โรงเรียนบ้านสำราญ จังหวัดนครพนม อย่างมีนัยสำคัญทาง
สถิติที่ระดับ .05 มี 1 ปัจจัย ได้แก่ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่
2 (x4)
3. ปัจจัยที่ไม่มีความสัมพันธ์กับการวางแผนการใช้
เวลาเรียนที่เหมาะสมของนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนบ้าน
สำราญ จังหวัดนครพนม มี 6 ปัจจัย ได้แก่ เพศชาย ( x1)
เพศหญิง ( x2) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ( x5) ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน (X6) ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว (X7)
และการเลียนแบบเพื่อน (X14)
4. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการวางแผนการใช้เวลาเรียนที่
เหมาะสมของนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนบ้านสำราญ
จังหวัดนครพนม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 3
ปัจจัยโดยเรียงลำดับจากปัจจัยที่ส่งผลมากที่สุดไปหาปัจจัย
ที่ส่งผลน้อยที่สุด ได้แก่ การเลียนแบบอาจารย์ ( x14)ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (x4) และภาระงานที่ได้รับ
มอบหมายในครอบครัว ( x12) ซึ่งปัจจัยทั้ง 3 ปัจจัยนี้
สามารถร่วมกันอธิบายการวางแผนการใช้เวลาเรียนที่
เหมาะสมของนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนบ้านสำราญ
จังหวัดนครพนม ได้ร้อยละ 47.6
ต่อการวางแผนการใช้เวลาเรียนที่เหมาะสมของนักเรียนช่วงชั้น
ที่ 3 โรงเรียนบ้านสำราญ จังหวัดนครพนม โดยจำแนกปัจจัยที่
ศึกษาเป็น 3 ด้านคือ ปัจจัยด้านส่วนตัว ได้แก่ เพศ ระดับชั้น
นิสัยทางการเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน บุคลิกภาพ และ
แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ทางการเรียน ปัจจัยด้านครอบครัว ได้แก่
ภาระ งานที่ได้รับมอบหมาย ความคาดหวังของ ผู้ปกครองและ
ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัวและปัจจัยทางด้าน
สภาพแวดล้อม ทางการเรียน ได้แก่ การเลียนแบบ อาจารย์
และการ เลียนแบบเพื่อน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนช่วงชั้นที่
3 โรงเรียนบ้านสำราญ จังหวัดนครพนม ปีการศึกษา 2550
จำ นวน 120 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่
แบบสอบถามวางแผนการใช้เวลาเรียนที่เหมาะสมของ
นักเรียนช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนบ้านสำราญ จังหวัดนครพนม
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ การวิเคราะห์ค่า
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์การ
ถดถอยพหุคูณ
1. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการวาง
แผนการใช้เวลาเรียนที่เหมาะสมของนักเรียนช่วงชั้นที่ 3
โรงเรียนบ้านสำราญ จังหวัดนครพนม อย่างมีนัยสำคัญทาง
สถิติที่ระดับ .01 มี 6 ปัจจัย ได้แก่ นิสัยทางการเรียน ( x8)
บุคลิกภาพ (x9) แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ทางการเรียน ( x10)
ภาระงานที่ได้รับมอบหมายในครอบครัว ( x11) ความ
คาดหวังของผู้ปกครอง ( x12) และการเลียนแบบอาจารย์ (
x13) และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ทางบวกกับนักเรียนช่วงชั้น
ที่ 3 โรงเรียนบ้านสำราญ จังหวัดนครพนม อย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติที่ระดับ .05 มี 1 ปัจจัย ได้แก่ ระดับชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 1 ( x3)
2. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ทางลบกับการวาง
แผนการใช้เวลาเรียนที่เหมาะสมของนักเรียนช่วงชั้นที่ 3
โรงเรียนบ้านสำราญ จังหวัดนครพนม อย่างมีนัยสำคัญทาง
สถิติที่ระดับ .05 มี 1 ปัจจัย ได้แก่ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่
2 (x4)
3. ปัจจัยที่ไม่มีความสัมพันธ์กับการวางแผนการใช้
เวลาเรียนที่เหมาะสมของนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนบ้าน
สำราญ จังหวัดนครพนม มี 6 ปัจจัย ได้แก่ เพศชาย ( x1)
เพศหญิง ( x2) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ( x5) ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน (X6) ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว (X7)
และการเลียนแบบเพื่อน (X14)
4. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการวางแผนการใช้เวลาเรียนที่
เหมาะสมของนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนบ้านสำราญ
จังหวัดนครพนม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 3
ปัจจัยโดยเรียงลำดับจากปัจจัยที่ส่งผลมากที่สุดไปหาปัจจัย
ที่ส่งผลน้อยที่สุด ได้แก่ การเลียนแบบอาจารย์ ( x14)ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (x4) และภาระงานที่ได้รับ
มอบหมายในครอบครัว ( x12) ซึ่งปัจจัยทั้ง 3 ปัจจัยนี้
สามารถร่วมกันอธิบายการวางแผนการใช้เวลาเรียนที่
เหมาะสมของนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนบ้านสำราญ
จังหวัดนครพนม ได้ร้อยละ 47.6
Downloads
Download data is not yet available.
Article Details
How to Cite
สุพรรณกูล ก., กรีทอง ร. เ., & จุลรัตน์ ผ. ด. (2009). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการวางแผนการใช้เวลาเรียนที่ เหมาะสมของนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนบ้านสำราญ จังหวัดนครพนม. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ ศรีนครินทรวิโรฒ, 9(1). Retrieved from https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jedu/article/view/450
Section
บทความวิจัย (Research Articles)