ทักษะที่จำเป็นในการฝึกงานของนิสิตสาขาวิชาการท่องเที่ยวและ การโรงแรมคณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
QUIRED INTERNSHIP SKILLS OF TOURISM AND HOTEL UNDERGRADUATE PROGRAM STUDENT, FACULTY OF BUSINESS ADMINISTRATION FOR SOCIETY, SRINAKHARINWIROT UNIVERSITY
Keywords:
ทักษะในการฝึกงาน การท่องเที่ยวและการโรงแรม ปัจจัยสิ่งแวดล้อมเชิงองค์การAbstract
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลของนิสิตสาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรมที่ฝึกงาน ที่มีผลต่อทักษะที่จำเป็นในการฝึกงานของนิสิตสาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม 2) ศึกษาปัจจัยสภาพแวดล้อมของนิสิตสาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรมที่ฝึกงาน ที่มีผลต่อทักษะที่จำเป็นในการฝึกงานของนิสิตสาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรมคณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคมโดยเป็นการการวิจัยเชิงปริมาณ ที่ใช้วิธีการเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากนิสิตสาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม คณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ที่เคยลงทะเบียนในรายวิชาทักษะอาชีพทางการท่องเที่ยวและรายวิชาทักษะอาชีพทางการโรงแรม จำนวน 326 ราย และนำไปวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมทางสถิติ งานวิจัยนี้นำตัวแปรอิสระ ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคลและสภาพแวดล้อมเชิงองค์การ ที่มีอิทธิพลต่อทักษะที่จำเป็นในการฝึกงานนิสิตสาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรมที่ ผลการวิจัยนี้ตามวัตถุประสงค์พบว่า 1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลของนิสิตสาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรมที่ฝึกงาน ที่มีผลต่อทักษะที่จำเป็นในการฝึกงานของนิสิตสาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม ได้แก่ ระดับชั้นปี และเกรดเฉลี่ยที 2) ปัจจัยสิ่งแวดล้อมเชิงองค์การมีผลต่อทักษะที่จำเป็นในการฝึกงานนิสิตสาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม ผลลัพธ์จึงนำไปปรับปรุงกิจกรรมระหว่างหลักสูตรก่อนการฝึกงานโดยกำหนดนโยบายเป็นแผนปฏิบัตตามชั้นปีและความชำนาญการในการฝึกงานแต่ละตำแหน่งให้มีความรู้ที่มาขึ้นและศักยภาพของผู้เรียนให้มีผลการเรียนที่ดีขึ้นและเป็นไปตามแต่ละทักษะที่พึงจำเป็นต่อการฝึกงาน ปรับปรุงการเรียนการสอนในอนาคตให้มีความทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลงที่ไม่หยุดนิ่งของโลกการทำงานDownloads
References
กรรณิกา นาคพันธ์ แก้วสมุทร์ (2562). คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สาขาวิชาภาษาอังกฤษตามทัศนคติของแหล่งฝึกประสบการณ์. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 10(2), 270-280.
จริยา ตันติวราชัย และ อนุชิต จันทรโรทัย (2560) คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของบุคลากรในอุตสาหกรรมการบริการและการท่องเที่ยว. วารสารสารสนเทศ, 16(1), 27-36.
ชลิดา ชาญวิจิตร และ ประสพชัย พสุนนท์ (2559). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของนักศึกษาฝึกงาน กรณีศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันอุดมศึกษาเอกชน. วารสารปัญญาภิวัตน์, 8(2), 100-110.
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2553). จิตวิทยาการบริหารงานบุคคล. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริม.
พัชรินทร์ จึงประวัติ. (2560). คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักศึกษาฝึกงานในทัศนะของผู้บริหารสถานประกอบการด้านการท่องเที่ยว. วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 2(1),11-21.
พรพรหม แม้นนนทรัตน์ (2558). พัฒนาการการปรับปรุงรายวิชาการฝึกงานสถาปัตยกรรม ภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วารสารวิชาการสถาปัตยกรรม, 64(1), 105-120.
เมธินี วงศ์วานิช รัมภกาภรณ์ และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (2560). ผลการฝึกงานเพื่อเสริมสร้างพฤติกรรมความมุ่งมั่นในการทำงานของนิสิตในรายวิชาฝึกงานของสาขาวิชาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. วารสารศาสตร์ปริทัศน์, 32(2), 55-64.
วีรนุช แซ่ฉิน และสุภาพร ธนะชานันท์. (2557). ปัจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการเรียนรู้จากประสบการณ์การฝึกงานในสถานประกอบการของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 3 วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี, 8(17), 72-79.
ศิริวรรณ มุนินทรวงศ์. (2561). ปัญหาการฝึกงานและทักษะในการทำงานของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. วารสารเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา ฉบับพิเศษ, 8(3), 206-218.
ศิริวรรณ มุนินทรวงศ์ และทัศนีย์ เมธาพิสิฐ (2559). ทิศทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคลเพื่อ ผู้ประกอบการญี่ปุ่นในไทยในศตวรรษที่ 21. วารสารเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา, 5(2), 48-69.
Ainsworth, M.D.S., Blehar, M.C., Water, E., & Wall, S. (1978). Patterns of attachment: a psychological study of the strange situation. Hillsdale, N.J.: Erlbaum.
Allen, N. J., Stanley, D. J., Williams, H., & Ross, S. J. (2007). Assessing dissimilarity relations under missing data conditions: Evidence from computer simulations. Journal of Applied Psychology, 92, 1414-1426.
Bonwell, C.C., Charles C., and James, A. E. (1991). Active learning: Creating excitement in the classroom. ERIC Digest.
Bonwell, C. C., & Eison, J. A. (1991). Active Learning: Creative Excitement in the Classroom. ASHE-ERIC Higher Education Reports No. 1. Washington, D.C.
Bowlby, J. (1973). Attachment and Loss: Volume II: Separation, Anxiety and anger. New York: Basic Books.
Cooke, R. A., & Lafferty, L. J. (1989). Organizational culture inventory. Plymouth: Human Synergistics.
Collins, N.L., & Allard, L.S. (2001). Cognitive representation of attachment: The content
and function of working models. In G.J.O. Fletcher, & M.S. Clark (Eds.), Blackwell handbook of social psychology: Interpersonal processes (pp. 60-85). Malden, MA: Blackwell.
Daft, R. L. (1992). Organization theory and design. Singapore: Info Access.
Felder, R., & Brent, R. (1996). Navigating the Bumpy Road to Student-Centered Instruction. Journal of College Teaching. 44(2), 43-47. http://www.jstor.org/stable/27558762
Harrison, R. (1972). Understanding Your Organization’s Character. Harvard Business Review, May- June(119-128).
Meyers, C., & Jones, T. B. (1993). Promoting Active Learning: Strategies for the College Classroom. San Francisco, CA: Jossey-Bass Inc.
Judge, T. A.; Locke, E. A.; Durham, C. C.; Kluger, A. N. (1998), Dispositional effects on job and life satisfaction: the role of core evaluations. Journal of Applied Psychology, 83(1), 17-34.
Jusoh, M., Simun, M., & Choy Chong, S. (2011), Expectation gaps, job satisfaction, and organizational commitment of fresh graduates: Roles of graduates, higher learning institutions and employers, Education + Training, 53(6), 515-530.
Schein, E. H. (1992). Organizational culture and leadership (2nd ed.). San Francisco: Jossey-Bass.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
วารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทรวิโรฒ ยินดีรับบทความจากงานวิจัย บทความทางวิชาการ และบทวิจารณ์หนังสือทางบริหารธุรกิจ เพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ ซึ่งทัศนะและข้อคิดเห็นใดๆ ในวารสารฯ ถือเป็นความเห็นและความรับผิดชอบโดยตรงของผู้เขียน มิใช่เป็นความเห็นและความรับผิดชอบใดๆ ของศูนย์การจัดการหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา คณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผู้ประสงค์จะนำบทความหรือบทวิจารณ์ใดๆ ไปเผยแพร่ จะต้องได้รับการอนุญาตจากวารสารเป็นลายลักษณ์อักษร ลิขสิทธิ์บทความที่เผยแพร่ทั้งหมดเป็นของวารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทรวิโรฒ