การพัฒนาผู้เรียนสู่ความสามารถในการสร้างนวัตกรรมและงานสร้างสรรค์ ด้วยการจัดการเรียนรู้ด้านอุตสาหกรรมศึกษา STUDENT CAPABILITY DEVELOPMENT FOR CREATE INNOVATION AND CREATIVITY WORK WITH INDUSTRIAL EDUCATION LEARNING MANAGEMENT

Main Article Content

โอภาส สุขหวาน
ชมพูนุท สุขหวาน

Abstract

จากความตระหนักในความสำคัญของหลักสูตรทางด้านอุตสาหกรรมศึกษา ที่จะมีบทบาทต่อสังคมและประเทศชาติในอนาคตนั้น สถาบันการผลิตครูที่จัดการเรียนการสอนทางด้านอุตสาหกรรมศึกษาจึงมีจุดมุ่งหมายเพื่อผลิตบุคลากรให้มีสมรรถนะทางอุตสาหกรรมศึกษา และเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายนั้น กระบวนการจัดการเรียนการสอนจึงมุ่งเน้นการให้ความรู้ กรอบคิดหลัก และทักษะที่สำคัญอันหลากหลาย พร้อมทั้งการบูรณาการข้ามศาสตร์ ผ่านกระบวนการจัดการเรียนรู้ การจัดประสบการณ์ และการฝึกปฏิบัติทั้งในสถาบันการศึกษาและสถานประกอบการอย่างเป็นระบบ เพื่อนำผู้เรียนซึ่งอยู่ในช่วงของการได้รับการพัฒนาความสามารถในระดับสูงไปสู่ความสามารถในการพัฒนานวัตกรรมและงานสร้างสรรค์ สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีของการเป็นครูมืออาชีพและเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีพลังของประเทศชาติต่อไปในอนาคต

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
สุขหวาน โ., & สุขหวาน ช. (2023). การพัฒนาผู้เรียนสู่ความสามารถในการสร้างนวัตกรรมและงานสร้างสรรค์ ด้วยการจัดการเรียนรู้ด้านอุตสาหกรรมศึกษา: STUDENT CAPABILITY DEVELOPMENT FOR CREATE INNOVATION AND CREATIVITY WORK WITH INDUSTRIAL EDUCATION LEARNING MANAGEMENT. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ ศรีนครินทรวิโรฒ, 24(1), 163–173. Retrieved from https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jedu/article/view/15154
Section
บทความวิชาการ (Academic Articles)

References

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. (2562). หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต (4 ปี) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562. กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี,(2563), หลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล (หลักสูตร 5 ปี) (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563) สืบค้นออนไลน์จาก https://mte.kmutt.ac.th/assets/bachelor2563.pdf.

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.(2562). หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู สืบค้นออนไลน์จาก https://www.aru.ac.th/grad/?page=program&aru_code=7601.

สาขาวิชาครุศาสตร์เครื่องกล คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.(2566). ผลงานนักศึกษา โครงงานนักศึกษาระดับปริญญาตรี (บทเรียนออนไลน์) สืบค้นออนไลน์จาก https://mte.kmutt.ac.th/projects.html.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.( 2565). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 พ.ศ. 2566-2570 , สืบค้นออนไลน์จาก https://www.nesdc.go.th/download/Plan13/Doc/Plan13_Final.pdf.

โอภาส สุขหวาน, พัชราภรณ์ ศรีสวัสดิ์, สกล วรเจริญศรี, ภุชงค์ จันทร์จิระ, และปวัฒวงศ์ บำรุงขันท์. (2562). การศึกษาสมรรถนะความเป็นครูของครูอาชีวศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษา, 13(2), 107-121.

โอภาส สุขหวาน, นลินทิพย์ บุญเฉลยมรรค และ สมสุดา มัธยมจันทร์.(2565). นวัตกรรมและงานสร้างสรรค์:การบูรณาการทักษะกับการเสริมสร้างพัฒนาการผู้เรียน. วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษา, 16(1), 10-18.

Most read articles by the same author(s)