CORPORATE GOVERNANCE STRUCTURES AND STOCK RETURNS: EVIDENCE FROM THE STOCK EXCHANGE OF THAILAND (โครงสร้างบรรษัทภิบาลกับราคาหุ้น กรณีศึกษา บริษัทในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย)

Authors

  • Rasita Sangboonnak Faculty of Business Administration, Rajamanggala University of Technology Thanyaburi
  • Wanchai Prasertsri Faculty of Business Administration, Rajamanggala University of Technology Thanyaburi

Abstract

Abstract The purpose of this research is to examine the relationship of corporate governance practices of the firm and its stock performance on the Stock Exchange of Thailand (SET). The sample included non-financial firms listed on the SET (2014-2015) (n = 257 firms). Data was collected from the SET’s SETSMART database, including stock return information and corporate governance and ownership structure information. The predictor variables included board structure variables (board size, CEO duality, board independence, gender diversity, meeting frequency, & CEO compensation) and ownership structure variables (family ownership, institutional ownership, & ownership concentration). The multiple regression model was relatively weak (R2 = .141). Gender diversity showed a strong positive effect on stock returns, while the effects of board size (negative) and institutional ownership (positive) were weaker. The implication is that these elements of corporate governance do not have a strong effect on stock returns in Thailand. Keywords: Corporate Governance, Stock Returns, Agency Theory   บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างหลักการกำกับดูแลกิจการของกลุ่มตัวอย่างและราคาหุ้นในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ กลุ่มตัวอย่างที่ไม่ใช่สถาบันการเงินและมีรายชื่อในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ในปี ค.ศ. 2014 – 2015) (n = 257 ตัวอย่าง) โดยรวบรวมข้อมูลจากฐานข้อมูล SETSMART รวมทั้งข้อมูลผลตอบแทนหุ้นและข้อมูลการกำกับดูแลกิจการและโครงสร้างการถือหุ้น ตัวแปรพยากรณ์ ประกอบด้วย ตัวแปรโครงสร้างของคณะกรรมการ (ขนาดคณะกรรมการ, การควบตำแหน่งประธานกรรมการกับ CEO, สัดส่วนกรรมการอิสระ, ความแตกต่างทางด้านเพศ, ความถี่ในการประชุม และค่าตอบแทนผู้บริหาร) และตัวแปรโครงสร้างการถือหุ้น (การถือหุ้นแบบครอบครัว, การถือหุ้นแบบสถาบัน และ การถือหุ้นแบบกระจุกตัว) ผลการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ พบว่า มีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรน้อย (R2 = .141) ความแตกต่างทางด้านเพศของคณะกรรมการ มีผลกระทบเชิงบวกต่อผลตอบแทนหุ้นในระดับสูง ในขณะที่ผลกระทบด้านขนาดคณะกรรมการ (เชิงลบ) และการถือหุ้นแบบสถาบัน (เชิงบวก) มีผลกระทบต่อผลตอบแทนหุ้นในระดับน้อย การนำผลวิจัยครั้งนี้ไปใช้ คือ องค์ประกอบของการกำกับดูแลกิจการไม่มีผลกระทบในระดับสูงที่ส่งผลต่อผลตอบแทนหุ้นในประเทศไทย คำสำคัญ: การกำกับดูแลกิจการ ผลตอบแทนหุ้น ทฤษฎีหน่วยงาน

Downloads

Download data is not yet available.

Downloads

Published

10-11-2017

How to Cite

Sangboonnak, R., & Prasertsri, W. (2017). CORPORATE GOVERNANCE STRUCTURES AND STOCK RETURNS: EVIDENCE FROM THE STOCK EXCHANGE OF THAILAND (โครงสร้างบรรษัทภิบาลกับราคาหุ้น กรณีศึกษา บริษัทในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย). วารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทรวิโรฒ: Srinakharinwirot Business Journal, 8(1), 125–139. Retrieved from https://ejournals.swu.ac.th/index.php/MBASBJ/article/view/9400