ความรู้ ทัศนคติ และแนวโน้มพฤติกรรมของกลุ่มผู้ประกอบการ ที่มีต่อแนวคิดการตลาดและการสร้างแบรนด์
ENTREPRENEURIAL KNOWLEDGE, ATTITUDE AND PRACTICE OF MARKETING AND BRAND BUILDING CONCEPTS
Keywords:
ความรู้ ทัศนคติ แนวโน้มพฤติกรรม การตลาดและการสร้างแบรนด์ ผู้ประกอบการAbstract
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความรู้ ทัศนคติ และความตั้งใจของผู้ประกอบการที่จะนำแนวคิดการตลาด และการสร้างแบรนด์ไปใช้ เป็นการศึกษาเชิงปริมาณ ด้วยวิธีการวิจัยเชิงสำรวจ เก็บข้อมูล ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง โดยใช้แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล ซึ่งประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ ผู้ประกอบการที่ประกอบธุรกิจในภูมิภาคต่างๆ และกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ได้แก่ การหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงอนุมาน ได้แก่ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ผลการศึกษา พบว่า ภาพรวมกลุ่มตัวอย่างมีคะแนนความรู้เกี่ยวกับแนวคิดการตลาด และการสร้าง แบรนด์ในระดับปานกลาง สำหรับทัศนคติ ในภาพรวม กลุ่มตัวอย่างมีทัศนคติในระดับเห็นด้วยอย่างยิ่ง มีค่าเฉลี่ย 4.41 นั่นคือ มีทัศนคติในเชิงบวก ส่วนแนวโน้มพฤติกรรม พบว่า ในภาพรวม กลุ่มตัวอย่างมีแนวโน้มพฤติกรรมต่อความตั้งใจที่จะนำแนวคิดการตลาดและการสร้างแบรนด์ไปประยุกต์ใช้กับธุรกิจ ในระดับตั้งใจอย่างยิ่ง มีค่าเฉลี่ย 4.52 นอกจากนี้ ยังพบว่า ความรู้เกี่ยวกับแนวคิดการตลาด และการสร้างแบรนด์มีความสัมพันธ์กับทัศนคติ ที่ระดับนัยสำคัญที่ .001 ในทุกด้าน อีกทั้งทัศนคติของผู้ประกอบการที่มีต่อแนวคิดการตลาด และการสร้างแบรนด์มีความสัมพันธ์กับแนวโน้มพฤติกรรม ทั้งในด้านความตั้งใจที่จะนำแนวคิดการตลาดไปประยุกต์ใช้กับธุรกิจและด้านความตั้งใจที่จะสร้างแบรนด์Downloads
References
กิตติพงษ์ โสภณธรรมภาณ และอัควรรณ์ แสงวิภาค. (2558). ทัศนคติและความเข้าใจของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมต่อแนวคิดด้านโลจิสติกส์การตลาด. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี, 11(4), 29-38.
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2565). การจดทะเบียนธุรกิจประจำเดือนกรกฎาคม 2565. จาก https://www.dbd.go.th/download/document_file/Statisic/2565/H26/HS26_202307.pdf
ดลชัย บุณยะรัตนเวช. (2555). สร้างแบรนด์ สิ้นแบรนด์ A-Z. สำนักพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ.
ราชกิจจานุเบกษา. (2561). ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561- 2580). เล่ม 135 ตอนที่ 82 ก ประกาศวันที่ 13 ตุลาคม 2561.
ราชกิจจานุเบกษา. (2560). ประกาศคณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ เรื่องการจัดตั้งกลุ่มจังหวัดและกำหนดจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด (ฉบับที่ 3),เล่ม 134 ตอนพิเศษ 281 ง, 14.
วิทยา จารุพงศ์โสภณ. (2558). กลยุทธ์การบริหารแบรนด์. กรุงเทพฯ: แปลน สารา.
วรวุฒิ พันธาภา และจิระเสกข์ ตรีเมธสุนทร. (2565). ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทัศนคติต่อการเป็นผู้ประกอบการกับคุณลักษณะความเป็นผู้ประกอบการของนักศึกสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการเซาธ์อีสท์บางกอก, 8(1), 19-32.
ศิริกุล เลากัยกุล. (2564). เผยเคล็ดลับการสร้างแบรนด์ที่ยืนหยัดได้อย่างยั่งยืน. จาก http://blog.infoquest.co.th/iqmedialink/brand-sustainable/
สุชาติ ไตรภพสกุล. (2565). หลักการตลาดเพื่อการเป็นผู้ประกอบการ. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เหมือนจิต จิตสุนทรชัยกุล. (2565). การบริหารแบรนด์. นนทบุรี: ม.ป.พ.
Aebi, V., Sabato, G., & Schmid, M. (2012). Risk Management, Corporate Governance, and Bank Performance in the Financial Crisis. Journal of Banking & Finance, 36(12), 3213-3226.
Ajzen, I. (1991). The Theory of Planned Behavior. Organizational Behavior and Human Decision Processes, 50(2), 179-211.
Beechler, S., & Javidan, M. (2007), Leading with a Global Mindset. Advances in International Management, 19(131-169).
Caird, S. (1988), Review of Methods of MeasuningEnterp rise Attributes. Unpublished Paper, Durham University Business School.
Carlson, J. G. (1985). Recent Assessment of the Myers Briggs Type Indicator. Journal of Personality Assessment, 49(4), 356-365.
Chaston, I. (2015). Entrepreneurial Marketing: Sustaining Growth in All Organizations (2nd Ed.). Macmillan International Higher Education.
Crant, J. M. (1996). The Proactive Personality Scale as a Predictor of Entrepreneurial Intentions. Journal of Small Business Management, 34(3), 42-49.
Dweck, C. S. (2006). Mindset: The New Psychology of Success. New York: Random House Publishing Group.
Fishbein, M., & Ajzen, I. (1975). Belief, Attitude, Intention, and Behavior: An Introduction to Theory and Research. Reading, MA: Addison-Wesley.
Gupta, A. K, & Govindarajan, V. (2002). Cultivating a Global Mindset. Academy of Management Executive, 16(1),116-126.
Gurel, E., & Altinay, L., & Daniele, R. (2010). Tourism students’ entrepreneurial intentions. Annals of Tourism Research, 37(3), 646-669.
Gürol, Y., & Atsan, N. (2006), Entrepreneurial characteristics amongst university students: Some insights for entrepreneurship education and training in Turkey, Education + Training, 48(1), 25-38. https://doi.org/10.1108/00400910610645716
Hjalager, A. M. (2010). Progress in Tourism Management: A Review of Innovation Research in Tourism. Tourism Management, 31(1), 1-12.
Javidan, M., Steers, R. M., & Hitt, M. A. (2007). The Global Mindset. https://www.semanticscholar.org/paper/The-Global-Mindset-Javidan-Steers/0c0f205ed88c80f1679f4db08de376e7b9c251eb#references
Morrish, S.C. (2011). Entrepreneurial marketing: a strategy for the twenty‐first century. Journal of Research in Marketing and Entrepreneurship, 13(2), 110-119.
Mueller, S. L., & Thomas, A. S. (2001). Culture and Entrepreneurial Potential: A Nine Country Study of Locus of Control and Innovativeness. Journal of Business Venturing, 16(1), 51-75.
Peterman, N. E., & Kennedy, J. (2003). Enterprise Education: Influencing Students’ Perceptions of Entrepreneurship. Entrepreneurship Theory and Practice, 28(2).
Phan, H. P., & Maebuta, J., & Dorovolomo, J. (2010). The relations between personal epistemology and learning approaches in sociocultural contexts: A theoretical conceptualization. The International Journal of Learning: Annual Review, 17(5), 465-478.
Rogers, E. M. (1983). Diffusion of Innovations. (3rd ed). New York: Free Press.
Robinson, P. B., Stimpson, D. V., Huefner, J., & Hunt, H. K. (1991). An Attitude Approach to The Prediction of Entrepreneurship. Entrepreneurship Theory and Practice, 15, 13-31.
Scott, M. G., & Twomey, D. F. (1988). The long-term supply of entrepreneurs: students’ career aspirations in relation to entrepreneurship. Journal of Small Business Management. 26(4), October, 5-13.
Shariff, M. N. M., & Saud, M. B. B. (2009). An Attitude Approach to the Prediction of Entrepreneurship on Students at Institution of Higher Learning in Malaysia. International Journal of Business and Management, 4(4), 129-135.
Skyword. (2020). How the Marketing Funnel Works from Top to Bottom. https://www.skyword.com/contentstandard/how-the-marketing-funnel-works-from-top-to-bottom/
Story, J., & Barbuto, J. E. (2011). Global Mindset: A Construct Clarification and Framework. Journal of Leadership & Organizational Studies, 18(3), 377-384.
Thomas, L. C., Painbéni, S., & Barton, H. (2013), Entrepreneurial marketing within the French wine industry. International Journal of Entrepreneurial Behavior & Research, 19(2), 238-260.
Trisetiyanto, A. N., Syamwil, R., & Widjanarko, D. (2019). The Influence of Young Entrepreneur School (YES) Training Model on Knowledge, Attitude and Employee Skills Competence. Journal of Vocational and Career Education, 4(2).
Zhao, F. (2005), Exploring the Synergy between Entrepreneurship and Innovation. International Journal of Entrepreneurial Behavior & Research, 11(1), 25-41.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
วารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทรวิโรฒ ยินดีรับบทความจากงานวิจัย บทความทางวิชาการ และบทวิจารณ์หนังสือทางบริหารธุรกิจ เพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ ซึ่งทัศนะและข้อคิดเห็นใดๆ ในวารสารฯ ถือเป็นความเห็นและความรับผิดชอบโดยตรงของผู้เขียน มิใช่เป็นความเห็นและความรับผิดชอบใดๆ ของศูนย์การจัดการหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา คณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผู้ประสงค์จะนำบทความหรือบทวิจารณ์ใดๆ ไปเผยแพร่ จะต้องได้รับการอนุญาตจากวารสารเป็นลายลักษณ์อักษร ลิขสิทธิ์บทความที่เผยแพร่ทั้งหมดเป็นของวารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทรวิโรฒ