ปัจจัยทางเศรษฐกิจที่มีผลต่อความสามารถในการทำกำไรของบริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมบริการ หมวดธุรกิจพาณิชย์ ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ECONOMIC FACTORS AFFECTING PROFITABILITY OF COMPANIES LISTED IN COMMERCE SECTOR, SERVICE INDUSTRY OF THE STOCK EXCHANGE OF THAILAND
Keywords:
ความสามารถในการทำกำไร อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ลูกค้ารายใหญ่ ชั้นดีแบบมีระยะเวลาของธนาคารพาณิชย์ การวิเคราะห์สมการถดถอยแบบพหุคูณเชิงซ้อนAbstract
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทางเศรษฐกิจที่มีผลกระทบต่อความสามารถในการทำกำไรของบริษัทกลุ่มอุตสาหกรรมบริการ หมวดธุรกิจพาณิชย์ ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยความสามารถในการทำกำไรใช้ข้อมูลกำไรสุทธิของบริษัท รายไตรมาส ตั้งแต่ไตรมาสที่ 1 ปี พ.ศ. 2555 ถึงไตรมาสที่ 2 ปี พ.ศ. 2565 รวมจำนวน 42 ไตรมาส ปัจจัยทางเศรษฐกิจที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ อัตราการเจริญเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศที่แท้จริง อัตราเงินเฟ้อ อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ลูกค้ารายใหญ่ชั้นดีแบบมีระยะเวลาของธนาคารพาณิชย์ และดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจ ใช้วิธีการวิเคราะห์สมการถดถอยแบบเส้นตรงพหุคุณเชิงซ้อน (Multiple Linear Regression Analysis) ด้วยวิธีการกำลังสองน้อยที่สุด (Ordinary Least Squares) ณ ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยทางเศรษฐกิจได้แก่อัตราการเจริญเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศที่แท้จริง และอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ลูกค้ารายใหญ่ชั้นดีแบบมีระยะเวลาของธนาคารพาณิชย์สามารถร่วมกันพยากรณ์ผลประกอบการของธุรกิจได้ร้อยละ 75.5 โดยอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่แท้จริงมีความสัมพันธ์กับกำไรสุทธิในทิศทางเดียวกันโดยมีค่าสัมประสิทธิ์เท่ากับ .176 ในขณะที่อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ฯมีความสัมพันธ์กับกำไรสุทธิในทิศทางตรงกันข้าม มีค่าสัมประสิทธิ์เท่ากับ -.838 ส่วนอัตราเงินเฟ้อและดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจไม่พบว่ามีความสัมพันธ์กับกำไรสุทธิ ณ ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05Downloads
References
กัญญารัตน์ กาญจนวิสุทธิ์ และ กีรติญา ครองแก้ว (2565). อุตสาหกรรมก่อสร้างและวัสดุก่อสร้างปี 2023 ยังขยายตัวท่ามกลางต้นทุนปรับตัวสูงขึ้น. ค้นเมื่อ 11 พฤศจิกายน 2565, จาก https://www.scbeic.com/th/detail/ product/ 8311
ชลธิชา สายศิลา. (2561). การศึกษาวิเคราะห์แนวทางและวิธีการปรับปรุงกระบวนงาน “การขออนุมัติจัดกิจกรรมบรรยายพิเศษ” ของคณะสถิติประยุกต์. คณะสถิติประยุกต์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. ค้นเมื่อ 11 สิงหาคม 2522, จาก https://www.km.nida.ac.th/th/images/PDF/research/chonre2.pdf
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2564). โครงสร้างการจัดกลุ่มอุตสาหกรรมและหมวดธุรกิจของตลาดหลักทรัพย์ฯ. ค้นเมื่อ 11 สิงหาคม 2565, จาก https://media.set.or.th/set/Documents/2023/Apr/2021-12-01_SET-Industry-Group-Sector-Classification-23070356.pdf
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2559). การคำนวณและการตีความดัชนีเชื่อมั่นภาคธุรกิจ (BSI). ค้นเมื่อ 12 มิถุนายน 2565, จากhttps://www.bot.or.th/ Thai/ MonetaryPolicy/ EconomicConditions/ EconomicIndices/ DocLib_EconomicIndex/ BSI-construction.pdf
ธนาคารแห่งประเทศไทย (ข้อมูลสถิติ) FM_RT_001_S2 อัตราดอกเบี้ยในตลาดเงิน (2548-ปัจจุบัน). (ม.ป.ป.). ค้นเมื่อ 12 มิถุนายน 2565, จาก https://www.bot.or.th/App/BTWS_STAT/statistics/BOTWEBSTAT. aspx?reportID=223&language=TH
ธนาคารแห่งประเทศไทย (ข้อมูลสถิติ) EC_EI_005 ดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจ 1/. (ม.ป.ป.). ค้นเมื่อ 12 มิถุนายน 2565, จาก https://www.bot.or.th/ App/BTWS_STAT/statistics/ReportPage.aspx?reportID=405& language=th
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2565). อัตราดอกเบี้ยนโยบาย อาวุธสำคัญของธนาคารกลาง. ค้นเมื่อ 11 สิงหาคม 2565, จาก https://www.bot.or.th/ th/ research-and-publications/articles-and-publications/bot-magazine/Phrasiam-65-3/vocabstory-65-3.html
ธัญญรัตน์ แสงสุริยาโรจน์. (2561). ปัจจัยทางเศรษฐกิจที่ส่งผลต่อมูลค่าการซื้อขายหลักทรัพย์ของผู้ลงทุนรายย่อยในประเทศผ่านตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ. ค้นเมื่อ 6 ธันวาคม 2565, จาก https://bu-mba.rmutk.ac.th/wp-content/ uploads/2019/12/ thesis%E0%B8%98%E0%B8%B1%E0%B8%8D% E0%B8%8D%E0%B8%A3% E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%99%E0%B9%8C-_2018.pdf
นารินทิพย์ ท่องสายชล. (2563). สัญญาณทางเศรษฐกิจที่สำคัญที่ส่งผลต่อการลงทุน. ค้นเมื่อ 2 พฤศจิกายน 2565, จาก https://www.setinvestnow.com/ th/ knowledge/ article/ 76-economic-signs-that-affect-investment
บริษัทหลักทรัพย์บัวหลวง. (2564, 22 สิงหาคม). รู้จัก Net Profit คืออะไร และเป็นตัวช่วยที่ใช้บอกความสามารถของบริษัทได้อย่างไร. ค้นเมื่อ 11 สิงหาคม 2565, จาก https://knowledge.bualuang.co.th/knowledge-base/netprofit/
พัดชา เพิ่มพงศ์พันธ์. (2553). ปัจจัยทางเศรษฐกิจที่มีผลต่อราคาหลักทรัพย์กลุ่มทรัพยากรหมวดธุรกิจพลังงานและสาธารณูปโภค. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การเงิน). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. ค้นเมื่อ 25 มกราคม 2566, จาก https://scholar.utcc.ac.th/handle/6626976254/797
พศุตม์ โงวิวัฒน์ชัย และ ยุทธนา เศรษฐปราโมทย์. (2564). ปัจจัยทางเศรษฐกิจที่มีผลต่อการจดทะเบียนธุรกิจใหม่. พัฒนาการเศรษฐกิจปริทรรศน์, 15(2), 68–88.
วรเชษฐ์ กวาวปัญญา. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการทำกำไรของธุรกิจประกันวินาศภัยในประเทศไทย.
เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. ค้นเมื่อ 9 พฤศจิกายน 2565, จาก https://scholar.utcc.ac.th/handle/6626976254/4334
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2564). ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน จำแนกตามประเภทค่าใช้จ่าย และขนาดของครัวเรือน. ค้นเมื่อ 6 มกราคม 2565, จาก
https://opendata.nesdc.go.th/dataset/average-monthly-expenditure-per-household-by-expenditure-group-and-household-size
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (ม.ป.ป.). รายงานภาวะเศรษฐกิจในประเทศรายไตรมาส. ค้นเมื่อ 6 มกราคม 2565, จาก https://www.nesdc.go.th/main.php?filename=QGDP_report
อนันท์ชนก สกนธวัฒน์. (2549). ความเชื่อมั่นของประชาชน: นัยต่อการบริโภคและการลงทุน. วารสารเศรษฐกิจและสังคม, ต.ค.-ธ.ค.49, 82–88. https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=4978
โอปอ คำเกษม. (2552). ปัจจัยทางเศรษฐกิจที่มีผลต่อการประกอบการของบริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมขนส่งและโลจิสติกส์ ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. ค้นเมื่อ 9 พฤศจิกายน 2565, จาก http://dspace.bu.ac.th/handle/123456789/571
Agiomirgianakis, G., Voulgaris, F., & Papadogonas, T. (2006). Financial factors affecting profitability and employment growth: The case of Greek manufacturing. International Journal of Financial Services Management, 1(2–3), 232–242.
Alarussi, A. S., & Alhaderi, S. M. (2018). Factors affecting profitability in Malaysia. Journal of Economic Studies, 45(3), 442–458.
Basha V, J., & H R, T. (2021). The determinants of bank profitability: Empirical evidence from India. - EBSCO. Retrieved January 31, 2023, from https://discovery.ebsco.com/c/jqooqz/viewer/pdf/ kt552vvspz
Bucevska, V., & Hadzi Misheva, B. (2017). The determinants of profitability in the banking industry: Empirical research on selected Balkan countries. Eastern European Economics, 55(2), 146–167.
Chen, H. (2009). A Literature Review on the Relationship between Foreign Trade and Economic Growth. International Journal of Economics and Finance, 1(1), 127.
Gul, S., Irshad, F., & Zaman, K. (2011). Factors affecting bank profitability in Pakistan. Romanian Journal of Economic Forecasting, 39, 61–87.
Jahan, S., Mahmud, A. S., & Papageogiou, C. (2014). What Is Keynesian Economics? - Back to Basics. Finance, & Development, 51(3).
Kelley, K., & Bolin, J. H. (2013). Multiple Regression (pp. 69–101). Brill. Retrieved November 6, 2023, from https://brill.com/view/book/edcoll/9789462094048/ BP000005.xml
Lee, C. Y. (2014). The effects of firm specific factors and macroeconomics on profitability of property-liability insurance industry in Taiwan. Journal of Business & Management (COES&RJ-JBM), 2(1), 221-227,
Top 7 Theories of Interest (With Diagram). (2015, November 16). Economics Discussion. Retrieved January 8, 2023, from https://www.economicsdiscussion.net/theories-of-interest/top-7-theories-of-interest-with-diagram/13937
Uncertainty Bearing Theory of Profit. (2019). Hamro Library. Retrieved January 27, 2023, from
https://www.hamrolibrary.com/2019/05/uncertainty-bearing-theory-of-profit.html
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
วารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทรวิโรฒ ยินดีรับบทความจากงานวิจัย บทความทางวิชาการ และบทวิจารณ์หนังสือทางบริหารธุรกิจ เพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ ซึ่งทัศนะและข้อคิดเห็นใดๆ ในวารสารฯ ถือเป็นความเห็นและความรับผิดชอบโดยตรงของผู้เขียน มิใช่เป็นความเห็นและความรับผิดชอบใดๆ ของศูนย์การจัดการหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา คณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผู้ประสงค์จะนำบทความหรือบทวิจารณ์ใดๆ ไปเผยแพร่ จะต้องได้รับการอนุญาตจากวารสารเป็นลายลักษณ์อักษร ลิขสิทธิ์บทความที่เผยแพร่ทั้งหมดเป็นของวารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทรวิโรฒ