การขยายผลการพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาครูปฐมวัย ครูผู้ช่วย และผู้ดูแลเด็ก ที่สอดคล้องกับสมรรถนะเด็กปฐมวัยและเหมาะสมกับทุกสังกัดแบบอิงพื้นที่เป็นฐาน โดยการมีส่วนร่วมจากภาคีหุ้นส่วนทางการศึกษา THE EXPANDING OF RESULTS OF CURRICULUM DEVELOPMENT FOR EARLY CHILDHOOD TEACHERS, TEACHER ASSISTANTS AND CAREGIVERS ACCORDING TO THE PROFESSIONAL COMPETENCIES IN THE AREA-BASED EDUCATIONAL AFFILIATION AND THE EDUCATION PARTNERS

Main Article Content

พรชุลี ลังกา
นิศารัตน์ อิสระมโนรส
ปุณยวีร์ จิโรภาศวรพงศ์
วิไลลักษณ์ ลังกา
ชนะศึก นิชานนท์
พรรัก อินทามระ
เอื้ออารี จันทร

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความต้องการของครูปฐมวัย ครูผู้ช่วย และผู้ดูแลเด็ก ในการพัฒนาสมรรถนะด้านการจัดการเรียนการสอน 2) เพื่อพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาครูปฐมวัย ครูผู้ช่วย และผู้ดูแลเด็ก ที่สอดคล้องกับสมรรถนะเด็กปฐมวัยและเหมาะสมกับทุกสังกัดแบบอิงพื้นที่เป็นฐานโดยการมีส่วนร่วมจากภาคีหุ้นส่วนทางการศึกษา และ 3) เพื่อประเมินคุณภาพและประสิทธิผลของหลักสูตรการพัฒนาครูปฐมวัย ครูผู้ช่วย และผู้ดูแลเด็ก ที่สอดคล้องกับสมรรถนะเด็กปฐมวัยและเหมาะสมกับทุกสังกัดแบบอิงพื้นที่เป็นฐานโดยการมีส่วนร่วมจากภาคีหุ้นส่วนทางการศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูปฐมวัย ครูผู้ช่วย และผู้ดูแลเด็กในจังหวัดสุพรรณบุรี จำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูปฐมวัยและ ครูผู้ช่วย จำนวน 30 คน และผู้ดูแลเด็ก จำนวน 10 คน ได้มาจากการเลือกแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แบบสัมภาษณ์ความต้องการในการพัฒนาครู 2) แบบประเมินคุณภาพหลักสูตรการพัฒนาครูปฐมวัย ที่สอดคล้องกับสมรรถนะเด็กปฐมวัยและเหมาะสมกับทุกสังกัดแบบอิงพื้นที่เป็นฐานโดยการมีส่วนร่วมจากภาคีหุ้นส่วนทางการศึกษา 3) แบบประเมินสมรรถนะการจัดการเรียนการสอนของครูปฐมวัย ครูผู้ช่วย และผู้ดูแลเด็ก และ 4) แบบประเมินความพึงพอใจของครูปฐมวัย ครูผู้ช่วย และผู้ดูแลเด็กที่มีต่อกิจกรรมในหลักสูตรฯ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าคะแนนเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัย พบว่า 1) ครูปฐมวัย ครูผู้ช่วย และผู้ดูแลเด็ก มีความต้องการในการพัฒนาสมรรถนะ ด้านการจัดการเรียนการสอนของตนเองมากที่สุด 2 ด้าน คือ สมรรถนะด้านการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย และสมรรถนะด้านสื่อและนวัตกรรม 2) ผลการประเมินคุณภาพของหลักสูตรฯ พบว่า คะแนนเฉลี่ยคุณภาพของหลักสูตรในภาพรวม มีความเหมาะสมอยู่ในระดับเหมาะสมมากที่สุด (M = 4.59, S.D. = 0.55) 3) ผลการเปรียบเทียบสมรรถนะด้านการจัดการเรียนการสอนของครูปฐมวัย ครูผู้ช่วย และผู้ดูแลเด็ก ก่อนและหลังการอบรมในหลักสูตรฯ พบว่า ในภาพรวมหลังการอบรม (M = 4.85, S.D. = 0.46) สูงกว่าก่อนการอบรม (M = 4.45, S.D. = 0.64) และ 4) ผลการประเมินความพึงพอใจต่อการอบรมในหลักสูตรฯ พบว่า ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด (M = 4.63, S.D. = 0.56)

Article Details

How to Cite
ลังกา พ., อิสระมโนรส น., จิโรภาศวรพงศ์ ป., ลังกา ว., นิชานนท์ ช., อินทามระ พ. ., & จันทร เ. (2025). การขยายผลการพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาครูปฐมวัย ครูผู้ช่วย และผู้ดูแลเด็ก ที่สอดคล้องกับสมรรถนะเด็กปฐมวัยและเหมาะสมกับทุกสังกัดแบบอิงพื้นที่เป็นฐาน โดยการมีส่วนร่วมจากภาคีหุ้นส่วนทางการศึกษา: THE EXPANDING OF RESULTS OF CURRICULUM DEVELOPMENT FOR EARLY CHILDHOOD TEACHERS, TEACHER ASSISTANTS AND CAREGIVERS ACCORDING TO THE PROFESSIONAL COMPETENCIES IN THE AREA-BASED EDUCATIONAL AFFILIATION AND THE EDUCATION PARTNERS. วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 19(2), 229–246. Retrieved from https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jre/article/view/16459
Section
บทความวิจัย (Research Articles)

References

คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา. (2562). แผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

จุฬากรณ์ มาเสถียรวงศ์. (2560). โครงการประสานงานวิจัยและพัฒนาการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่. สถาบันรามจิตติ.

โชติกา กุณสิทธิ์ พจมาน ชำนาญกิจ และสำราญ กำจัดภัย. (2563). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเพิ่มสมรรถนะประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์บนพื้นฐานการเรียนรู้แบบใช้สมองสำหรับครูปฐมวัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1. Journal of Buddhist Anthropology, 5(3): 402–417.

ยูนิเซฟประเทศไทย. (2563). รายงานสถานการณ์เด็กในประเทศไทย พ.ศ. 2563. ยูนิเซฟประเทศไทย.

ราชกิจจานุเบกษา. (2562). พระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2562. เล่ม 136 ตอนที่ 56 ก, หน้า 1-28.

วิไลวรรณ กลิ่นถาวร และศิริพร วงศ์ตาคำ. (2565). การพัฒนารูปแบบการอบรมโดยใช้ชุมชนเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้แบบลงมือกระทำสำหรับครูปฐมวัย. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 14(3): 232-47.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2563). การศึกษาสภาพการผลิตและพัฒนาครูปฐมวัยในสถาบันอุดมศึกษาของไทย. พริกหวานกราฟฟิค.

สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดสุพรรณบุรี. (2563). รายงานสถานการณ์ทางวัฒนธรรมจังหวัดสุพรรณบุรี. สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดสุพรรณบุรี.

สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุพรรณบุรี. (2563). แผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. 2563-2565. สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุพรรณบุรี.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2562). รายงานการพัฒนาเด็กปฐมวัย. สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

สุชาดา จิตกล้า สุดา เจ๊ะอุมา จรุงใจ มนต์เลี้ยง และสุทธิชา มาลีเลศ. (2566). ของเล่นจากวัสดุในท้องถิ่น โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านเขาวัง อำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารสมาคมพัฒนาวิชาชีพการบริหารการศึกษาแห่งประเทศไทย (สพบท.), 5(4): 1-13.

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุพรรณบุรี. (2563). รายงานผลการดำเนินงานโครงการสุพรรณบุรี: เมืองแห่งการเรียนรู้. องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุพรรณบุรี.

Darling-Hammond, L., Hyler, M. E., & Gardner, M. (2017). Effective teacher professional development. Learning Policy Institute.

Dong, C., Cao, S., & Li, H. (2020). Young children's online learning during COVID-19 pandemic: Chinese parents' beliefs and attitudes. Children and Youth Services Review, 118: 105440.

Garrison, D. R., Anderson, T., & Archer, W. (2021). Online learning in the wake of COVID-19: Perspectives from early childhood educators. Educational Technology Research and Development, 69(1): 317-321.

Gay, G. (2018). Culturally responsive teaching: Theory, research, and practice, (3rd ed.). Teachers College Press.

Hargreaves, A., & O'Connor, M. T. (2018). Collaborative professionalism: When teaching together means learning for all. Corwin Press.

Hu, X., Chiu, M. M., & Li, H. (2021). Online learning challenges for young children during COVID-19: A systematic review. Early Education and Development, 32(8): 1112-1127.

Kim, J., & Smith, K. (2020). Early childhood education in the time of COVID-19: The importance of human interaction for holistic development. Young Children, 75(4): 15-21.

Kolb, D. A. (2014). Experiential learning: Experience as the source of learning and development, (2nd ed.). Pearson Education.

Mishra, P., & Koehler, M.J. (2016). Technological pedagogical content knowledge: A framework for teacher knowledge. Teachers College Record, 118(4): 1-38.

Yoshikawa H, Wuermli AJ, Britto PR, Dreyer B, Leckman JF, Lye SJ, Ponguta LA, Richter LM, Stein A. (2020). Effects of the Global Coronavirus Disease-2019 Pandemic on Early Childhood Development: Short- and Long-Term Risks and Mitigating Program and Policy Actions. J Pediatr. 223:188-193. doi:10.1016/j.jpeds.2020.05.020.

Most read articles by the same author(s)

> >>