TIKTOK กับผู้เรียนประถมศึกษา TIKTOK WITH PRIMARY STUDENTS

Main Article Content

อิทธิกร บุนนาค
นวพร อัจฉริยะเกียรติ
ภาวิณี โสธายะเพ็ชร
กีรติ คุวสานนท์

Abstract

TikTok เป็นแอปพลิเคชันยอดนิยมทั่วโลกในหมู่คนรุ่นใหม่รวมถึงนักเรียนประถมศึกษา ซึ่งมีจุดเด่นในการสร้างคลิปวิดีโอสั้น มีเนื้อหาที่หลากหลาย และกลายเป็นช่องทางในการสร้างพื้นที่สื่อที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในขณะนี้ มีการนำ TikTok มาใช้ในหลากหลายแง่มุมในปัจจุบัน รวมไปถึงในแง่ของการศึกษา อีกทั้งผู้เรียนในปัจจุบันซึ่งอยู่ในช่วงเจนเนอเรชันเเอลฟ่า (Generation Alpha) มีรูปแบบการเรียนรู้ที่เปลี่ยนไปคือจะเรียนรู้จากเรื่องที่ตนเองสนใจและตอบสนองต่อได้ดีผ่านการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยี อย่างไรก็ตามหากไม่ระมัดระวังในการใช้งาน อาจเกิดผลเสียต่อผู้เรียนประถมศึกษาได้ เช่น (1) ผลเสียต่อสุขภาพจิตของผู้เรียน (2) ความเข้าใจที่ถูกต้อง (3) ผลเสียต่อร่างกาย (4) ผลเสียต่อด้านสมาธิในการเรียนรู้ ดังนั้นผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับผู้เรียนประถมศึกษาทั้งผู้บริหาร ครูผู้สอน และผู้ปกครอง จึงควรช่วยกันดูแลผู้เรียนประถมศึกษาให้มีการใช้ TikTok รวมไปถึงโซเชียลมีเดียอื่น ๆ อย่างเหมาะสมตามวัยของผู้เรียน

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
บุนนาค อ. ., อัจฉริยะเกียรติ น. ., โสธายะเพ็ชร ภ. ., & คุวสานนท์ ก. . (2023). TIKTOK กับผู้เรียนประถมศึกษา: TIKTOK WITH PRIMARY STUDENTS. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ ศรีนครินทรวิโรฒ, 24(1), 126–138. Retrieved from https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jedu/article/view/15163
Section
บทความวิชาการ (Academic Articles)

References

กระทรวงศึกษาธิการจับมือ TikTok ต่อยอดความสำเร็จแคมเปญ #TikTokUni เดินหน้ายกระดับการศึกษาไทยบนโลกออนไลน์. (2564). https://newsroom.tiktok.com/th-th/moe-partners-tiktok-in-developing-thai-education-through-digital-learning

โครงการศึกษาและเฝ้าระวังสื่อเพื่อสุขภาวะของสังคม. (2553). ข้อเสนอแนะ การผลิตละครโทรทัศน์ไทยการศึกษาประเด็น SLVR ในละครโทรทัศน์ต่างประเทศ.

ชนันภรณ์ อารีกุล. (2562). การศึกษาทางเลือก: รูปแบบการเรียนรู้ที่สำคัญสำหรับเจเนอเรชันแอลฟา. วารสาร มจธ สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ 8(3). 270-283.

ประหยัด พิมพา. (2561). การศึกษาไทยในปัจจุบัน. วารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขต ร้อยเอ็ด 7(1). 242-249.

ผู้จัดการออนไลน์. (2564). TikTok พร้อมใช้แพลตฟอร์มสื่อสารแนวใหม่ร่วมกับภาครัฐ กระตุ้น Digital Economy. https://mgronline.com/cyberbiz/detail/9640000020751

พงษพัชรินทร พุธวัฒนะ. (2564). การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนในยุคดิจิทัล. วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยี 1(2). 1-11.

มูลนิธิส่งเสริมสื่อผู้เรียนและเยาวชน. (2563). การบริหารจัดการเวลาบนโลกดิจิทัล. มูลนิธิส่งเสริมสื่อ ผู้เรียน และเยาวชน (สสย.): กรุงเทพฯ.

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2564). รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตใน ประเทศไทยปี 2564. สืบค้นเมื่อ 10 มิถุนายน 2565 จาก https://www.etda.or.th/th/Useful- Resource/publications/Thailand-Internet-User-Behavior-2021_Slides.aspx

Cardoso-Leite, P., Kludt, R., Vignola, G., Ma, W. J., Green, C., & Bavelier, D. (2016). Technology consumption and cognitive control: Contrasting action video game experience with media multitasking. Attention, perception & psychophysics, 78(1), 218–241. https://doi.org/10.3758/s13414-015-0988-0

Holilulloh, A., Youssef, Y. (2020). The learning process through social media for children: The issues and challenges of children’s future. Journal of Islamic Education and Multiculturalism. 2(1): 58–67.

Li, S., & Fan, L. (2022). Media multitasking, depression, and anxiety of college students: Serial mediating effects of attention control and negative information attentional bias. Frontiers in psychiatry, 13. https://doi.org/10.3389/fpsyt.2022.989201

Lopez, J. J., & Orr, J. M. (2022). Effects of media multitasking frequency on a novel volitional multitasking paradigm. PeerJ, 10, e12603. https://doi.org/10.7717/peerj.12603

Moisala, M., & et. al. (2016). Media multitasking is associated with distractibility and increased prefrontal activity in adolescents and young adults. NeuroImage, 134, 113–121. https://doi.org/10.1016/j.neuroimage.2016.04.011

Ratnayake, K., & et al. (2020). Blue light-triggered photochemistry and cytotoxicity of retinal. Cellular signalling, 69, 109547. https://doi.org/10.1016/j.cellsig.2020.109547

Srisinghasongkram, P., Trairatvorakul, P., Maes, M., & Chonchaiya, W. (2021). Effect of early screen media multitasking on behavioural problems in school-age children. European child & adolescent psychiatry, 30(8), 1281–1297. https://doi.org/10.1007/s00787-020-01623-3

Statista. (2022). Countries with the largest TikTok audience as of April 2022. Retrieved by; https://www.statista.com/statistics/1299807/number-of-monthly-unique-tiktok-users/

TikTok. (n.d.). TikTok. https://www.tiktok.com/safety/th-th/new-user-guide/Vicente-Tejedor, J., & et. al. (2018). Removal of the blue component of light significantly decreases retinal damage after high intensity exposure. PloS one, 13(3), e0194218. https://doi.org/10.1371/journal.pone.0194218

Zhang L. H., & et. al. (2021). Blue Light from Cell Phones Can Cause Chronic Retinal Light Injury: The Evidence from a Clinical Observational Study and a SD Rat Model. BioMed research international, 2021, 3236892. https://doi.org/10.1155/2021/3236892

Zhao, Z. C., Zhou, Y., Tan, G., & Li, J. (2018). Research progress about the effect and prevention of blue light on eyes. International journal of ophthalmology, 11(12), https://doi.org/10.18240/ijo.2018.12.20