กลยุทธ์การบริหารจัดการอารมณ์ของครูประถมศึกษา EMOTIONAL REGULATION STRATEGIES OF ELEMENTARY SCHOOL TEACHER

Main Article Content

ธิดารัตน์ เต๊ะซ่วน
นภัสสร จันทเลิศ
ภาวิณี โสธายะเพ็ชร
กีรติ คุวสานนท์

Abstract

การบริหารจัดการอารมณ์ของครูประถมศึกษาถือว่าเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งที่ครูควรจะหมั่นฝึกฝนและบริหารอารมณ์ให้เป็น เนื่องจากครูจะต้องทำงานใกล้ชิดกับผู้เรียนวัยประถมศึกษา ซึ่งเป็นวัยที่เริ่มมีพัฒนาการในการเรียนรู้ด้านต่าง ๆ อยากรู้ อยากลองทำสิ่งใหม่ ๆ อยู่เสมอ จึงอาจทำให้บางครั้งมีการแสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมออกมา ส่งผลให้ครูเกิดอามรมณ์เชิงลบได้ง่าย อีกทั้งอาชีพครูยังเป็นอาชีพที่ต้องทำงานกับบุคคลหลากหลายฝ่าย ทั้งเพื่อนร่วมงาน ผู้บริหาร และผู้ปกครอง ซึ่งพฤติกรรมของบุคคลเหล่านี้ก็สามารถส่งผลต่ออารมณ์ของครู รวมไปถึงปัญหาส่วนตัวของครู ก็สามารถส่งผลไปยังการแสดงออกทางอารมณ์ของครูเองเช่นกัน ครูจึงต้องมีกลยุทธ์ในการบริหารจัดการอารมณ์ของตนเอง เพื่อให้สามารถควบคุมการแสดงออกของอารมณ์เชิงลบได้อย่างดี การเรียนรู้กลยุทธ์การบริหารจัดการอารมณ์ของครูทั้ง 5 กลยุทธ์ จึงเป็นสิ่งที่สำคัญและจำเป็นเพราะหากครูสามารถนำกลยุทธ์เหล่านี้ไปใช้ปฏิบัติจริงในชีวิตประจำวันได้ก็จะส่งผลดีทั้งต่อตัวครูเอง ต่อนักเรียน ต่อการจัดการเรียนการสอน และต่อความสัมพันธ์กับผู้ที่เกี่ยวข้อง

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
เต๊ะซ่วน ธ. ., จันทเลิศ น. ., โสธายะเพ็ชร ภ. ., & คุวสานนท์ ก. (2024). กลยุทธ์การบริหารจัดการอารมณ์ของครูประถมศึกษา: EMOTIONAL REGULATION STRATEGIES OF ELEMENTARY SCHOOL TEACHER. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ ศรีนครินทรวิโรฒ, 25(1), 203–220. Retrieved from https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jedu/article/view/15921
Section
บทความวิชาการ (Academic Articles)

References

กนกวรรณ สุภาราญ. (2564). การจัดการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาสภาวะทางอารมณ์ร่วมกัน...ครูและนักเรียน มีความสุขห้องเรียนก็มีความสุข. EDUCA. https://www.educathai.com/knowledge/articles /440

ก่อกนิษฐ์ คํามะลา และ วัลนิกา ฉลากบาง. (2562). ความสุขในการทำงานของครูประถมศึกษา. Journal of Buddhist Education and Research. 5(2), 65-81.

เครือมาศ ชาวไร่เงิน, เบญจวรรณ บุณยะประพันธ์ และ ชนัดดา เพ็ชรประยูร. (2564). การรับรู้ภาวะสุขภาพและความเครียดที่พยากรณ์การจัดการความเครียดของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดร, 10(1), 179-194.

ธารินี กิตติกาญจนโสภณ. (2559). ภาวะผู้นําของผู้บริหารต่อความท้อแท้ในการปฏิบัติงานของครู ในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 2. MBU Education Journal : Faculty of Education Mahamakut Buddhist University, 4(2), 189-198

ปิ่นประไพ โชติชัชวาลย์กุล. (2564). การศึกษาสภาพการจัดการอารมณ์ของนักเรียนระดับประถมศึกษา: กรณีศึกษาโรงเรียนนานาชาติ. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. Chulalongkorn University Intellectual Repository (CUIR). https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79624

พรหมพิริยะ พนาสนธิ์ และ กรปภา เจริญชันษา. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยแรงจูงใจของครูในการปฏิบัติงานและปัจจัยค้ำจุนในการปฏิบัติงานของครูผู้สอนกับบทบาทหน้าที่ของครูในการทำ งานของครูในโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2. วารสารสังคมศาสตร์, 9(2), 60-69.

มนตรี อินตา และ กาญจนา อินตา. (2562). อารมณ์ในชั้นเรียน: อารมณ์ของครูมีผลต่อนักเรียนอย่างไร. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 14(12), 461-481.

ยศวีร์ สายฟ้า. (2564).ทิศทางการผลิตครูประถมศึกษาของประเทศไทยที่ตอบสนองความต้องการ ของผู้ใช้ครูกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมในยุคดิจิทัล. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 32(3), 71-85.

ยิ่งลักษณ์ วัชรพล. (2563, 27 กันยายน). สรุปข่าวร้อน "ครูจุ๋ม" ทำร้ายเด็กอนุบาล 1 โรงเรียนไล่ออกเจ้าตัวอ้างเครียดสะสม. ไทยรัฐ ออนไลน์. https://www.thairath.co.th/news/society/1938745

รัตนวดี โชติกพนิช. (2554). จริยธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพครู [เอกสารไม่ได้ตีพิมพ์]. ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

โรจนรินทร์ โกมลหิรัญ. (2551). การพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุของความเครียดในการทำงานของครู สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. Chulalongkorn University Intellectual Repository (CUIR).http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16140

เอกปวีร์ สีฟ้า. (2565). ความเครียดของคนเป็นครู ส่งผลต่อเด็ก มาพร้อมวิธีลดความเครียด.EDUCA. https://www.educathai.com/knowledge/articles/594

Bryant, M. L., (2015). Handbook on Emotion Regulation: Processes, Cognitive Effects and Social Consequences. https://research-ebsco-com.chula.idm.oclc.org/linkprocessor/plink?id=d1b0828d-149f-3285-81cf-3111c9b0e591

Chen, J., (2020). Teacher emotions in their professional lives: implications for teacher development. ASIA-PACIFIC JOURNAL OF TEACHER EDUCATION, 48(5), 491-507.

de Morais et al. (2023). EMOTIONAL REGULATION IN THE WORKPLACE: A QUALITATIVE STUDY WITH TEACHERS. ResearchGate. https://www.researchgate.net/publication/371958930_EMOTIONAL_REGULATION_IN_THE_WORKPLACE_A_QUALITATIVE_STUDYWITH_TEACHERS

de Ruiter, J. A., Poorthuis, A. M.G., Adlrup, K. and Koomen, H. M.Y. (2020). Teachers' emotional experiences in response to daily events with individual students varying in perceived past disruptive behavior. Journal of School Psychology, 82, 85-102.

Frenzel, A. C. (2014, January ). Teacher emotions. In E. A. Linnenbrink-Garcia & R.Pekrun. (Eds.). ResearchGate. https://www.researchgate.net/publication/272504523_Frenzel_A_C_2014_Teacher_emotions_In_E_A_Linnenbrink-Garcia_R_Pekrun_Eds_International_Handbook_of_Emotions_in_Education_pp_494-519_New_York_Routledge

Gross, J. J., (2015). Handbook of Emotion Regulation. (2). https://books.google.co.th/books?id=Ccx2BgAAQBAJ&printsec=frontcover&redir_esc=y#v=onepage&q&f=false

Fried, L. (2011). Teaching Teachers about Emotion Regulation in the Classroom. Australian Journal of Teacher Education, 36(3), 1-11.

Hargreaves A. (2001). The emotional geographies of teachers’ relations with colleagues. International Journal of Educational Research, 35, 503-527.

Hosotani, R. and Matsumura, K. (2011). Emotional experience, expression, and regulation of high-quality Japanese elementary school teachers. Teaching and Teacher Education, (1),1039-1048.

Jennings & Greenberg. (2009). The Prosocial Classroom: Teacher social and emotional competence in relation to child and classroom outcomes. Review of Educational Research Spring, 79(1), 491–525.

Jiang, J., Vauras, M., Volet, S., & Wang, Y. (2016). Teachers' emotions and emotion regulation strategies: Self-and students' perceptions. Teaching and Teacher Education, 54(1), 22-31.

Melnick, S. M. and Hinshaw, S. P. (2000). Emotion Regulation and Parenting in AD/HD and Comparison Boys: Linkages with Social Behaviors and Peer Preference. Journal of Abnormal Child Psychology, 28(1), 73-86.

Ruiz, D. (2016). Effect of Teachers’ Emotions on Their Students: Some Evidence. Journal of Education & Social Policy, 3(4), 73-79.

Sutton, R. E. (2004). Emotional regulation goals and strategies of teachers. Social Psychology of Education, 7(1), 379-398.

Sutton, R. E. and Wheatley, K. F. (2003). Teachers’ Emotions and Teaching: A Review of the Literature and Directions for Future Research. Educational Psychology Review, 15(4), 327-358.

Sutton, R. E., Camino, R. M., Knight, C. C. (2009). Teachers' Emotion Regulation and Classroom Management. Theory Into Practice, 48(1), 130-137.

Taxer, J. L. and Gross, J. J. (2018). Emotion regulation in teachers: The “why” and “how”. Teaching and Teacher Education, 14(1), 180-189.

Wu, Z. and Chen, J. (2018). Teachers, emotional experience: insights from Hong Kong primary schools. Asia Pacific Education Review, 19(1), 531-541.

Most read articles by the same author(s)