อิทธิพลด้านความคิดสร้างสรรค์และความตั้งใจในการใช้โซเชียลมีเดียผ่านการเรียนรู้ผู้ประกอบการที่นำไปสู่ความเป็นผู้ประกอบการ ทางอิเล็กทรอนิกส์: กรณีศึกษาธุรกิจอาหาร
THE INFLUENCE OF CREATIVITY AND INTENTION TO USE OF SOCIAL MEDIA ON ELECTRONIC ENTREPRENEURSHIP THROUGH ENTREPRENEURIAL LEARNING: A CASE STUDY OF FOOD BUSINESS
Keywords:
ความคิดสร้างสรรค์ ความตั้งใจในการใช้โซเชียลมีเดีย ความเป็นผู้ประกอบการทางอิเล็กทรอนิกส์ การเรียนรู้ผู้ประกอบการAbstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลด้านความคิดสร้างสรรค์และความตั้งใจในการใช้โซเชียลมีเดียผ่านการเรียนรู้ผู้ประกอบการ ที่นำไปสู่ความเป็นผู้ประกอบการทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยประชากรในงานวิจัยนี้ ได้แก่ กลุ่มธุรกิจอาหารซึ่งเป็นตัวแทนธุรกิจอาหาร คือ ผู้ประกอบการร้านอาหาร ผู้จัดการร้านอาหาร และพนักงานร้านอาหาร ผู้วิจัยได้ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากตัวอย่าง โดยใช้วิธีการสุ่มแบบเฉพาะเจาะจงจำนวน 400 ราย สถิติที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียรสัน (Pearson’s Correlation Coefficient) และทดสอบสมมติฐานการวิจัยด้วยการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง (Structural Equation Modeling: SEM) ผลการวิจัยพบว่า ทั้งความคิดสร้างสรรค์และความตั้งใจในการใช้โซเชียลมีเดียช่วยส่งเสริมความเป็นผู้ประกอบการทางอิเล็กทรอนิกส์ได้ผ่านการเรียนรู้ผู้ประกอบการ ซึ่งผลที่ได้จากการวิจัยในครั้งนี้จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจจะศึกษาหรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอาหาร เช่น สมาคมหรือผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร สามารถที่จะส่งเสริมให้ผู้ประกอบการพัฒนาศักยภาพตนเองเป็นผู้ประกอบการอิเล็กทรอนิกส์ โดยการสนับสนุนเครื่องมือในการใช้โซเชียลมีเดีย เพื่อเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ผู้ประกอบการให้มากยิ่งขึ้น รวมถึงส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์เพื่อนำไปสู่การพัฒนาการเรียนรู้ของผู้ประกอบการนำมาปรับปรุงการดำเนินธุรกิจ พัฒนาศักยภาพความเป็นผู้ประกอบการทางอิเล็กทรอนิกส์ทำให้ธุรกิจสามารถแข่งขันในตลาดและประสบความสำเร็จในอนาคตต่อไปDownloads
References
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2565). บทวิเคราะห์ ประจำเดือนกันยายน 2565 ธุรกิจร้านอาหาร. ค้นเมื่อ
พฤษภาคม 2565, จาก https://www.dbd.go.th/download/article/article_20221025094101.pdf
กัลยา วาณิชย์บัญชา. (2554). การใช้ SPSS for Windows ในการวิเคราะห์ข้อมูล (พิมพ์ครั้งที่ 18). กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.
บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่7). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
วรัทยา ธรรมกิตติภพ และกรปภา เจริญชันษา. (2562). คุณลักษณะของผู้ประกอบการสร้างสรรค์ และกิจกรรมเตรียมความพร้อมสู่การเป็นผู้ประกอบการสร้างสรรค์ ภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์. วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม, 14(2), 109-123.
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2563). ธุรกิจร้านอาหารเผชิญกับโจทย์ท้าทายสูง และรูปแบบการแข่งขันที่เปลี่ยนไป
คาดมีมูลค่า 4.37 – 4.41 แสนล้านบาท (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3067). ค้นเมื่อ 10 พฤษภาคม 2565,
จาก https://www.kasikornresearch.com/th/analysis/k-econ/business/Pages/z3067.aspx
สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ. (2564). ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580.กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. ค้นเมื่อ 28 เมษายน 2565, จากhttp://nscr.nesdc.go.th/wp-content/uploads/2021/06/May21_Full_01.pdf
Abdelfattah, F., Al Halbusi, H., & Al-Brwani, R. M. (2022). Influence of Self-Perceived Creativity and Social Media Use In Predicting E-Entrepreneurial Intention. International Journal of Innovation Studies, 6(3), 119-127.
Anderson, N. H. (1974). Cognitive Algebra: Integration theory applied to social attribution. In Advances in Experimental Social Psychology, 7(1), 1-101.
Arif, M., Qaisar, N., & Kanwal, S. (2022). Factors Affecting Students' Knowledge Sharing Over Social Media and Individual Creativity: An empirical investigation in Pakistan. The International Journal of Management Education, 20(1), 1-12.
Asadollahi Kheirabadi, M., & Rafieian, J. (2019). A Review of e-Entrepreneurship in the Net Economy and its Economic Impacts. Journal of Humanities Insights, 3(04), 215-219.
Byrne, B. M. (2010). Structural equation modeling with AMOs: Basic concepts, applications, and programming. 2nd ed. New York: Routlege Taylor and Francis Group.
Cochran, W. G. (1977). Sampling techniques (3rd ed.). New York: John Wilay & Sons.
Fornell, C. D., & Lacker, D. F. (1981). Evaluating Structural Equation models with Unobservable Variables and Measurement Error. Journal of Marketing Research, 18, 39-50.
Hair J. F., W. C. Black., B. J. Babin, and R. E. Anderson. (2010). Multivariate Data Analysis (7th ed). United Kingdom: Pearson Education.
Hinkle, D.E., William, W. & Stephen G. J. (1998). Applied Statistics for the Behavior Sciences (4th ed). New York: Houghton Mifflin.
Hon, J. G. (2018). Entrepreneurial Learning strategy. South Australia: Government of South Australia.
Ince, H., Imamoglu, S. Z., & Turkcan, H. (2021). Relationships among Absorptive Capacity, Creativity and Job Performance: The moderating role of social media usage. Management Decision, 1(1), 858-882.
Islam, M. A., & Alghobiri, M. A. (2018). E-entrepreneurship for e-startups: Potentials, common challenges and way forward. Information Management and Business Review, 10(4), 44-50.
Khosla, A., & Gupta, P. (2017). Traits of Successful Entrepreneurs. The Journal of Private Equity, 1(1). 12-15.
Kline, R. B. (2010). Principles and Practice of Structural Equation Modeling. The Guilford Press, New York.
Kumar, M., & Shukla, P. (2019). Creativity, Proactive Personality and Entrepreneurial Intentions:
Examining the Mediating Role of Entrepreneurial Self-efficacy. Global Business Review, 23(1),
-118.
Lai, L. S., & To, W. M. (2020). E-Entrepreneurial Intention among Young Chinese Adults. Asian Journal of Technology Innovation, 28(1), 119-137.
Markowska, M. (2011). Entrepreneurial competence development: Triggers, processes & consequences. Sweden: Jönköping University.
Roslan, M. H. H., Hamid, S., Ijab, M. T., & Bukhari, S. (2019, December). Social Entrepreneurship Learning Model in Higher Education Using Social Network Analysis. Journal of Physics: Conference Series, 1339(1). 1-12.
Rubik, A. (2022). The Role of Social Media in Creativity Management in Advertising Agencies. International Journal of E-Services and Mobile Applications (IJESMA), 14(1), 1-18.
Rungsrisawat, S., & Sutduean, C. (2019). Entrepreneurial Education and Entrepreneurial Intention:
The Mediating Role of Creativity Disposition among University Students in Thailand.
International Journal of Innovation, Creativity and Change, 6(10), 213-232.
Setiadi, N. J., Sutanto, H., & Ashary, R. R. (2021). Observing the Role of Social Media to Accelerate Creativity Development. In 2021 International Conference on Information Management and Technology (ICIMTech), 1(1), 388-392.
Shimoli, S. M., Cai, W., Abbas Naqvi, M. H., & Lang, Q. (2020). Entrepreneurship Success Traits.
Do Kenyans Possess the Desired Entrepreneur Personality Traits for Enhanced E-Entrepreneurship? Case study of Kenyan students in the people’s republic of China. Cogent Business & Management, 7(1), 1-19.
Spanjer, A., & Witteloostuijn, A. van (2017). The Entrepreneur’s Experiential Diversity and Entrepreneurial Performance. Small Business Economics, 49, 141-161.
Vera, D., & Crossan, M. (2004). Strategic Leadership and Organizational Learning. Academy of Management Review, 29(2), 222-240.
Yamakawa, Y., & Cardon, M. S. (2015). Causal Ascriptions and Perceived Learning from Entrepreneurial Failure. Small Business Economics, 44, 797-820.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
วารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทรวิโรฒ ยินดีรับบทความจากงานวิจัย บทความทางวิชาการ และบทวิจารณ์หนังสือทางบริหารธุรกิจ เพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ ซึ่งทัศนะและข้อคิดเห็นใดๆ ในวารสารฯ ถือเป็นความเห็นและความรับผิดชอบโดยตรงของผู้เขียน มิใช่เป็นความเห็นและความรับผิดชอบใดๆ ของศูนย์การจัดการหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา คณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผู้ประสงค์จะนำบทความหรือบทวิจารณ์ใดๆ ไปเผยแพร่ จะต้องได้รับการอนุญาตจากวารสารเป็นลายลักษณ์อักษร ลิขสิทธิ์บทความที่เผยแพร่ทั้งหมดเป็นของวารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทรวิโรฒ