ศิลปะและวัฒนธรรมบูรณาการกับคณะวิทยาศาสตร์อย่างไร
Main Article Content
Abstract
Kiattisak Phutamee, Sanya Palun, Chonrada Sartsamai, Somkiat Phornphisutthimas and Surasak Laloknam
รับบทความ: 10 เมษายน 2555; ยอมรับตีพิมพ์: 18 พฤษภาคม 2555
บทคัดย่อ
ศิลปะและวัฒนธรรมมีผลต่อการดำเนินชีวิตของกลุ่มสังคมที่ชี้ให้เห็นวิถีการดำเนินชีวิตและความดีงามของสังคม โดยงานด้านศิลปะและวัฒนธรรมเป็นภาระงานหลักของบุคลากรในมหาวิทยาลัย และเป็นองค์ประกอบหลักของงานประกันคุณภาพการศึกษาของการศึกษาระดับอุดมศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ได้จัดการด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมตามหลักประกันคุณภาพการศึกษาที่คำนึงถึงคุณภาพชีวิตของบุคลากรและนิสิตคณะวิทยาศาสตร์ โดยมีการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับศิลปะและวัฒนธรรมที่สามารถบูรณาการเข้ากับการเรียนการสอน โดยบุคลากรและนิสิตทั้งคณะวิทยาศาสตร์มีส่วนร่วมในกิจกรรมบูรณาการนี้
คำสำคัญ: ศิลปะและวัฒนธรรม การประกันคุณภาพการศึกษา บูรณาการ
Abstract
Art and culture affects the daily life and reflects to the lifestyle and social morality. It is a main part of staff workload in the university, and a major component of educational quality assessment of the university. The Faculty of Science has the activities in art and culture following the quality assessment system and concerning about students and staffs’ life qualities. The art and culture activities of our faculty are integrated into the teaching and learning by both staffs and students’ participation.
Keywords: Art and culture, Quality assessment, Integration
Downloads
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial 4.0 International License.
References
คณะวิทยาศาสตร์ มศว. (2554). รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 2554. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง
ฝ่ายกิจการนิสิต คณะวิทยาศาสตร์ มศว. (2554). คู่มือปฏิบัติฝ่ายกิจการนิสิต. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
ฝ่ายกิจการนิสิต คณะวิทยาศาสตร์ มศว. (2554). บทที่สองของการสร้างเครือข่ายผู้ปกครองสัมพันธ์ คณะวิทยาศาสตร์. เอกสารประกอบโครงการแรกพบนิสิตใหม่และผู้ปกครอง ประจำปีการศึกษา 2554 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2554). คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2553. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน). (2555). คู่มือการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ. 2554–2555). พิมพ์ครั้งที่ 2. สมุทรปราการ: ออฟเซ็ท พลัส.