แนวทางการใช้ประโยชน์จากตะไคร่น้ำ

Main Article Content

อาภรณ์ บัวหลวง
สมบัติ คงวิทยา
สุรศักดิ์ ละลอกน้ำ

Abstract

Application of Micro-Alga
 
Aporn Bualuang, Sombat Kongwithtaya and Surasak Laloknam
 
รับบทความ: 5 เมษายน 2556; ยอมรับตีพิมพ์: 8 พฤษภาคม 2556
 
 
บทคัดย่อ
ตะไคร่น้ำเป็นกลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่บริเวณที่มีความชื้นหรือแหล่งน้ำ โดยยึดเกาะกับริมขอบตลิ่ง กำแพง หรือลอยอยู่ในแหล่งน้ำ สิ่งมีชีวิตที่รวมกลุ่มกันเป็นตะไคร่น้ำประกอบด้วยสิ่งมีชีวิตประเภทไซยาโนแบคทีเรียและสาหร่ายชนิดต่าง ๆ ได้แก่ สาหร่ายสีเขียว สาหร่ายสีแดง และไดอะตอม ตะไคร่น้ำจึงเป็นสิ่งที่น่าสนใจในการศึกษาถึงการนำไปใช้ประโยชน์เนื่องจากสามารถเจริญเติบโตได้ตามธรรมชาติ จึงทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการเพาะเลี้ยง เนื่องจากกลุ่มสิ่งมีชีวิตตะไคร่น้ำมีสาหร่ายเป็นองค์ประกอบ หากสามารถแยกออกมาเป็นสายพันธุ์บริสุทธิ์สามารถนำมาเพิ่มมูลค่าได้ เช่น เป็นอาหารสัตว์เลี้ยง ใช้ในอุตสาหกรรมยา บำบัดน้ำเสีย ในการเกษตร และเป็นแหล่งพลังงานทดแทน
คำสำคัญ: ตะไคร่น้ำ สาหร่าย ประโยชน์ของตะไคร่น้ำ
 
Abstract
Micro-alga is a community of living organisms that grows in humidity area, water by padding on the edge of river or walls as well as floating in the water. The micro-alga composed of cyanobacteria, green algae, red algae and diatom. These organisms can grow in natural conditions without supplemented nutrient sources, and then could save the cost for culture. Isolation of pure alga is also needs for the goals in the future. There are many applications of algae, e.g., animal food, pharmaceutical industry, water treatment, agriculture and renewable energy.  
Keywords: Micro-alga, Alga, Application of cyanobacteria

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

Section
บทความวิชาการ (Academic Article)

References

โชติรส ตระกูลกำเนิด ปิยะณัฐ อินทร์แถม วิภาดา จำรัสรักษ์ ศลิษา คงชนะ ยุทธศักดิ์ ด่านยุทธศิลป์ สุภาภรณ์ ศิริโสภณา และสุรศักดิ์ ละลอกน้ำ. (2555, พฤษภาคม). การเพิ่มออกซิเจนในน้ำจากคลองแสน-แสบโดยใช้ไซยาโนแบคทีเรีย Oscillatoria sp. การประชุมวิชาการ “ศรีนครินทรวิโรฒวิชาการ” ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

มยุรี ตั้งธนานุวัฒน์ อุษา กลิ่นหอม นฤมล วานิชย์เจริญ และอาภารัตน์ มหาขันธ์. (2550). การวิจัยเพื่อกำหนดวิธีตรวจสอบมาตรฐานผลิตภัณฑ์สีอิมัลชั่นทาภายนอกที่ทนทานต่อสาหร่าย สำหรับประเทศไทยในห้องปฏิบัติการ. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 22(2): 69-78.

ยุวดี พีรพรพิศาล. (2549). สาหร่ายวิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 2. เชียงใหม่: ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ยุวดี พีรพรพิศาล. (2556). สาหร่ายวิทยาน้ำจืดในประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. เชียงใหม่: ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). ตะไคร่น้ำ. สืบค้นจาก http:// www. royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=2229 เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2556.

สุรศักดิ์ ละลอกน้ำ และบงกช บุญบูรพงษ์. (2555). ศักยภาพของไซยาโนแบคทีเรียในอนาคตประเทศไทย. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ 3(2): 149-154.

สุรศักดิ์ ละลอกน้ำ. (2554). การปรับตัวของไซยาโนแบคทีเรียภายใต้ภาวะเครียดจากเกลือ. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ 2(1): 82-88.

อุดมลักษณ์ มณีโชติ. (2552). การทบทวนระเบียนรายการสาหร่ายและแพลงก์ตอนพืชในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สำนักนโยบายและแผน.

Most read articles by the same author(s)

> >>