น้ำหมักชีวภาพกับงานด้านการเกษตร

Main Article Content

สมเกียรติ พรพิสุทธิมาศ

Abstract

Fermented Bio-extracts and Agricultures
 
Somkiat Phornphisutthimas
 
รับบทความ: 5 มกราคม 2555; ยอมรับตีพิมพ์: 12 มีนาคม 2555
 
บทคัดย่อ
น้ำหมักชีวภาพเป็นสารละลายหรือของผสมภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกิดจากการหมักเศษสิ่งมีชีวิตกับสารให้ความหวาน ซึ่งโดยทั่วไปใช้ของเหลวข้นสีน้ำตาลเข้มที่ได้จากโรงงานน้ำตาลหรือกากน้ำตาลเป็นสารให้ความหวาน กระบวนการผลิตน้ำหมักชีวภาพอาจทำได้ทั้งแบบให้อากาศมากและแบบให้อากาศน้อยทั้งนี้ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ในการนำสารเมทาบอไลต์ทุติยภูมิที่เกิดขึ้นในน้ำหมักชีวภาพไปใช้ น้ำหมักชีวภาพนำมาใช้ในการเกษตรเพื่อลดการใช้สารเคมีต่าง ๆ ที่ใช้เร่งการเจริญเติบโตของพืชและการควบคุมศัตรูพืช ซึ่งสารเหล่านี้เป็นอันตรายต่อเกษตรกร สิ่งแวดล้อม และผู้บริโภค
คำสำคัญ: การบวนการหมัก การเกษตร การควบคุมโดยชีววิธี น้ำหมักชีวภาพ ศัตรูพืช
 
Abstract
Fermented bio-extract, a local wisdom, is a solution or mixture of organic residues and sweetener.  In general, the dark brown paste from sugar industry or molasses is the sweetener.  Its fermentation process is both aerobic and semi-anaerobic depended on the purpose of secondary metabolite uses.  The advantage of using fermented bio-extracts is to reduce various chemicals for plant growth promoters and pest controls.  These chemicals are harmful for farmers, environment and consumers.
Keywords: Fermentation process, Agriculture, Biological control, Fermented bio-extract, Pest

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

Section
บทความวิชาการ (Academic Article)

References

ชุติมันต์ พานิชศักดิ์พัฒนา นงลักษ์ ปั้นลาย อดิศักดิ์ คำนวณศิลป์ ปิยะรัตน์ จังพล นลินี ศิวากรณ์ สาธิต อารีรักษ์ สุภา โพธิ์จันทร์ ชรินรัตน์ สุวรรณสม จินดารัตน์ ชื่นรุ่ง และสุมนา งามผ่องใส. (2549). ผลของน้ำหมักชีวภาพ Bacterio Mineral Water ในการผลิตถั่วเขียว. จาก http://puparn.rid.go.th:8080/pikmas/bitstream/ 123456789/14540/1/515_2549.pdf สืบค้นเมื่อ 21 กุมภาพันธ์ 2555.

ไชยรัตน์ ไชยสุต. (2553). น้ำหมักชีวภาพ. ปทุมธานี: ศูนย์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อสังคม สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ.

บุญนิธิ คัสกุล นงลักษณ์ มีแก้ว ศิริรัตน์ ก๋าวีเขียว สุรศักดิ์ ละลอกน้ำ สุภาภรณ์ ศิริโสภนา และสมเกียรติ พรพิสุทธิมาศ. (2554). การติดตามการเปลี่ยนแปลงกระ-บวนการทำน้ำหมักชีวภาพ 7 สูตรต่อการงอกของเมล็ดถั่วเขียว (Vigna radiata L.). วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ 2(1): 22-29.

มงคล ต๊ะอุ่น. (2549). การประยุกต์ใช้น้ำสกัดชีวภาพเพื่อการเกษตร. วารสารศูนย์บริการวิชาการ 14(4): 20-25.

มนทนา รุจิระศักดิ์ พรศิลป์ สีเผือก และพิทยา เกิดนุ่ม. (2553, พฤษภาคม). การใช้น้ำหมักรกหมูในการเพิ่มคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ข้าว. การประชุมทางวิชาการเมล็ดพันธุ์พืชแห่งชาติ ครั้งที่ 7. โรงแรมท็อปแลนด์ พิษณุโลก.

วีณา มูลรัตน์ สมชาย ชคตระการ และอัญชลี จาละ. (2553, มีนาคม). ประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพจากเศษปลาที่ใช้น้ำกากส่าเหล้าทดแทนกากน้ำตาลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักกวางตุ้งฮ่องเต้. การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ครั้งที่ 48. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ.

ศิริรัตน์ ก๋าวีเขียว บุญนิธิ คัสกุล นงลักษณ์ มีแก้ว สุรศักดิ์ ละลอกน้ำ สุภาภรณ์ ศิริโสภณา และสมเกียรติ พรพิสุทธิมาศ. (2554). ผลของน้ำหมักชีวภาพต่อการเจริญเติบโตของถั่วเขียว Vigna radiata L. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ 2(1): 30-38.

สมเกียรติ พรพิสุทธิมาศ ทิพวรรณ เหล่าหาโคตร และสุรศักดิ์ ละลอกน้ำ. (2552ก, สิงหาคม). ผลของความเข้มข้นของน้ำหมักชีวภาพต่อการเจริญเติบโตของพืชตระกูล Fabaceae. การประชุมวิชาการบทบาทของมหาวิทยาลัยต่อการศึกษาที่เน้นการปฏิบัติงานจริง. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่.

สมเกียรติ พรพิสุทธิมาศ ขจรพรรณ รักผล และสมฤทัย หอมชื่น. (2552ข, มีนาคม). ผลของการใช้น้ำหมักชีวภาพในการยับยั้งการเจริญเติบโตของราโรคใบร่วงบนต้นยางพารา. การประชุมวิชาการพฤกษ-ศาสตร์แห่งประเทศไทยครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหิดล.

สมเกียรติ พรพิสุทธิมาศ. (2552, กรกฎาคม). ผลการใช้น้ำหมักชีวภาพในการยับยั้งการเจริญเติบโตของราก่อโรค Phytophthora spp. บนต้นยางพารา. การประชุมทางวิชาการ นเรศวรวิจัย ครั้งที่ 5. มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก.

สมเกียรติ สุวรรณคีรี จาตุรงค์ พวงมณี สิทธิชัย ลอดแก้ว และกาญจนาภรณ์ ลอดแก้ว. (2548). คุณสมบัติบางประการในน้ำสกัดชีวภาพที่ใช้ทางการเกษตร. วารสารวิทยาศาตร์เกษตร 36 5-6 (พิเศษ): 308-311.

สำนักนิเทศและถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2550). การใช้พืชสมุนไพรกำจัดแมลงศัตรูพืช. เอกสารเพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยี ชุดความรู้และเทคโนโลยี กรมพัฒนาที่ดิน. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.

ออมทรัพย์ นพอมรบดี สมพร อิศรานุรักษ์ สุนันทา ชมภูนิช ภาวนา ลิกขนานนท์ นิตยา กันหลง รังษี เจริญสถาพร และรัตนาภรณ์ พรหมศรัทธา. (2547). ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ น้ำหมักชีวภาพ (ตอนที่ 1). โครงการ วิจัยและพัฒนาน้ำหมักชีวภาพ โครงการเกษตรแบบยั่งยืน. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการเกษตร.

Edwards, C. A., Arancon, N. Q., Vasko-Bennett, M., Askar, A., and Keeney, G. (2010). Effect of aqueous extracts from vermicopostson attacks by cucumber bettles (Acalymna vittatum) (Fabr.) on cucumbers and tobacco horn worm (Manduca sexta) (L.) on tomatoes. Pedobiol. 53: 141-148.

Elango, G., Rahuman, A. A., Kamaraj, C., Bagavan, A., Zahi, A. A., Santhoshkumar, T., Marimuthu, S., Velayutham, K., Jayaseelan, C., Kirthi, A. V., and Rajakumar, G. (2012). Efficacy of medicinal plant extracts against Formosan subterranean termite, Coptotemes formosanus. Ind. Crops Prod. -36: 524-530.

Jbilou, R., Amri, H., Bouayad, N., Ghailani, N., Ennabili, A., Sayah, F. (2008). Insecticidal effects of extracts of seven plant species on larval development, alpha-amylase activity and offspring production of Tribolium castaneum (Herbst) (Insecta: Coleoptera: Teneberionidae). Biores. Technol. 99: 959-964.

Kamla, N., Limpinuntana, V., Ruaysoongnern, S., and Bell, R. W. (2008). Role of fermented bio-extracts produced by farmers on growth, yield and nutrient contents in cowpea (Vigna ungui-culata (L.) Walp.) in Northeast Thailand. Biol. Agri. Hort. : Inter. J. Sustain. Prod. Sys. 25(4): 353-368.

Kumalaningsh, S., and Padaga, M. (2012). The utilization of microorganisms isolated from fermented coconut milk for the production of virgin coconut oil. J. Basic Appl. Sci. Res. 2(3): 2286-2290.

Mahlo, S. M., McGaw, L. J., Eloff, J. N. (2012). Antifungal activity of leaf extracts from South African trees against plant pathogens. Crop Protect. 29: 1529-1533.

Mdee, L. K., Masoko, P., and Eloff, J. N. (2009). The activity of extracts of seven common invasive plant species on fungal phytopathogens. South African J. Bot. 75: 375-379.

Pascual-Villalobos, M. J., and Robledo, A. (1998). Screening for anti-insect activity in Mediterranean plants. Ind. Crops Prod. 8: 183-194.

Phornphisutthimas, S., Wongwattana, C., and Rakphol, K. (2012, October). Potentiality of some aqueous Acanthaceae extracts to Fusarium wilt of Tomato. The 1st International Conference on Microbial Taxonomy, Basic and Applied Microbiology. Kosa Hotel, Khon Kaen, Thailand.

Riddech, N., Bunyatrachata, W., and Polsan, P. (2009). Change of microbial population in liquid fertilizer. KKU Sci. J. 37(supplement): 77-82.

Sarka, E., Bubnik, Z., Hinkova, A., Gebler, J., and Kadlec, P. (2012). Molasses as a by-product of sugar crystallization and a perspective raw material. Proc. Eng. 42: 1219-1228.

Tegegne, G., Pretorius, J. C., and Swart, W. J. (2008). Antifungal properties of Agapanthus africanus L. extracts against plant pathogens. Crop Protect. 27: 1052-1060.

Touba, E. P., Zakaria, M., and Tahereh, E. (2012). Antifungal activity of cold and hot water extracts of spices against fungal pathogens of Roselle (Hibicus sabdariffa) in vitro. Microbial Pathogenesis 53: 125-129.

Most read articles by the same author(s)

> >>