การคัดกรองไซยาโนแบคทีเรียที่ผลิตเอนไซม์เพอร์ออกซิเดส

Main Article Content

ชัยศาสตร์ คเชนทร์สุวรรณ
สมบัติ คงวิทยา
สมเกียรติ พรพิสุทธิมาศ
สุรศักดิ์ ละลอกน้ำ

Abstract

A Screening of Cyanobacteria Producing the Peroxidase
 
Chaiyasad Kachensuwan, Sombat Kongwithtaya, Somkiat Phornphisutthimas and Surasak Laloknam
 
รับบทความ: 10 พฤศจิกายน 2554; ยอมรับตีพิมพ์: 25 กุมภาพันธ์ 2555
 
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเจริญของไซยาโนแบคทีเรียในภาวะที่มีความเครียดจากเกลือ NaCl และตรวจหาแอคทิวิทีของเอนไซม์เพอร์ออกซิเดสจากไซยาโนแบคทีเรีย 6 ชนิด ได้แก่ Anabeana ambigua Nostoc commune Spilurina sp. Oscillatoria sp. Oscillatoria salina และ Oscillatoria sp. TISTR 8491 ในอาหาร BG11 โดยสกัดตัวอย่างด้วยสารละลายฟอสเฟตบัฟเฟอร์ พีเอช 8.0 และติดตามแอคทิวิทีของเอนไซม์เพอร์ออกซิเดสด้วย 4-amino antipyrine, gallic acid และ ไฮโดรเจน เพอร์ออกไซด์ บ่มที่อุณหภูมิ 30oซ เป็นเวลา 10 นาที พบว่า ไซยาโนแบคทีเรีย Anabeana ambigua Nostoc commune Oscillatoria sp. Oscillatoria salina และ Oscillatoria sp. TISTR 8491 เจริญได้ดีในภาวะที่ไม่มีเกลือ NaCl ส่วน Spilurina sp. เจริญได้ดีในภาวะที่มีเกลือ NaCl เข้มข้น 0.25 โมลาร์ และภาวะทนเค็มของ Anabeana ambigua น้อยกว่า 0.25 โมลาร์ ในขณะที่ Nostoc commune  Oscillatoria sp. Oscillatoria salina Oscillatoria sp. TISTR 8491 และ Spilurina sp. น้อยกว่า 0.5 โมลาร์ จากการศึกษาแอคทิวิทีของเพอร์ออกซิเดส พบว่า Anabeana ambigua Nostoc commune Spilurina sp. Oscillatoria sp. Oscillatoria salina และ Oscillatoria sp. TISTR 8491 มีแอคทิวิทีจำเพาะเท่ากับ 32.34  29.75 12.86  10.67  9.60 และ 3.82 ยูนิตต่อมิลลิกรัมโปรตีน ตามลำดับ เพอร์ออกซิเดสทำงานได้ในช่วงพีเอช 4 – 11 และทำงานได้ดีในภาวะที่เป็นเบส ค่าพีเอชเท่ากับ 9.0
คำสำคัญ: การคัดกรอง เพอร์ออกซิเดส ไซยาโนแบคทีเรีย ภาวะความเค็ม
 
Abstract
This research aimed to study the growth of six cyanobacteria, Anabeana ambigua, Nostoc commune, Spilurina sp., Oscillatoria sp., Oscillatoria salina and Oscillatoria sp. TISTR 8491, on salt stress by increasing of NaCl in BG11 medium, and detect their peroxidase activities. The samples were extracted by phosphate buffer, pH 8.0. The peroxidase activities from extracts were measured using a mixture of 4-aminoantipyrine, gallic acid and hydrogen peroxide, incubated at 30oC for 10 minutes. The result showed that the optimal growth rate of Anabeana ambigua, Nostoc commune, Oscillatoria sp., Oscillatoria salina and Oscillatoria sp. TISTR 8491 under no salanity while Spilurina sp. was 0.25 M NaCl. The salt stress condition on growth of Anabeana ambigua was under 0.25 M NaCl, Nostoc commune, Oscillatoria sp., Oscillatoria salina, Oscillatoria sp. TISTR 8491 and Spilurina sp. was under 0.5 M NaCl. The specific activities of crude extracts from Anabeana ambigua, Nostoc commune, Spilurina sp., Oscillatoria sp., Oscillatoria salina and Oscillatoria sp. TISTR 8491 were 32.34, 29.75, 12.86, 10.67, 9.60 and 3.82 Units/mg protein, respectively. The peroxidase activities were stable at the pH range of 4 – 11, with optimal activities at alkaline condition at pH 9.0.
Keywords: Screening, Peroxidase, Cyanobacteria, Salinity

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Article)

References

นิตยา จันซิว จตุรพร พรศิลปะทิพย์ และปรียานาถ วงศ์จันทร์. (2551, กันยายน). การผลิตโมโนโคนอลแอนติบอดีจำเพาะต่อเฮพาแรนซัลเฟตโปรติโอกลัยแคนที่ติดฉลากด้วยเอนไซม์ออร์สราดิชเปอร์ออกซิเดสสำหรับงานตรวจทางภูมิคุ้มกันวิทยา. วารสารเทคนิคการแพทย์เชียงใหม่ 41(3): 167-174.

บงกช บุญบูรพงษ์ อาภรณ์ บัวหลวง อรัญ อินเจริญศักดิ์ ยุวธิดา นิลผาย ปนัดดา พ่วงขวัญ อภิญญาณ บุญประกอบกุล และสุรศักดิ์ ละลอกน้ำ. (2554). ผลของไกลซีน โพรลีน และกลูตาเมต ต่อการเจริญของไซยาโนแบคทีเรีย

Synechococcus PCC 7942, Synechocytis PCC6803 และ Aphanothece halophytica ภายใต้ภาวะปกติและภาวะที่มีความ เครียดจากเกลือ. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ 2(1): 48-58.

โพธิธรณ์ ครรชิตานุรักษ์ อภิรดา สถาปัตยานนท์ กนกกานต์ นาคทอง ชัยศาสตร์ คเชนทร์สุวรรณ และสุรศักดิ์ ละลอกน้ำ. (2555, มีนาคม). ผลของความเค็มต่อการเจริญและปริมาณโพรลีนของไซยาโนแบคทีเรีย Oscillatoria sp. Nostoc sp. และ Ananaena sp. ภายใต้ภาวะปกติและภาวะที่มีความเครียดจากเกลือ. การประชุมวิทยาศาสตร์วิจัยครั้งที่ 4. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก.

ยุวดี พีรพรพิศาล จีรพร เพกเกาะ ชยากร ภูมาศ ชาติชาย โขนงนุช ปานมุก วัชระปิยะโสภณ พิมพร ลีลาพร-พิสิฐ วลัยลักษณ์ บุญชุม และสุดาพร ตงศิริ. (2551). กิจกรรมต้านอนุมูลอิสระทนร้อนของรงควัตถุกลุ่มไฟโคบิลิโปรตีนจากไซยาโนแบคทีเรียในน้าพุร้อนเพื่อประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์ทนร้อนด้านอื่น. เชียงใหม่: ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ลือชัย อารยะรังสฤษฎ์ และสุภาพร จันทร์บัวทอง. (2553). รายงานวิจัย เรื่อง กิจกรรมของเอ็นไซม์ peroxidase กับปฏิกิริยาต่อโรคไหม้ของข้าวบางพันธุ์. ปทุมธานี: ศูนย์วิจัยข้าวปทุมธานี.

สุวิตา เจริญศรี และวรางคณา จุ้งลก. (2551). การลดลงของระดับ glutathione peroxidase activites ในประชากรอำเภอร่อนพิบูลย์. รายงานการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ นครศรีธรรมราช.

Becana, M., and Lotassa, C. (2007). Oxidative stress as a response to salinity and aluminum. Lotus Newsl. 37(3): 98.

Bradford, M. (1976). A rapid method for the quantification of microgram quantities of protein utilizing the principle of protein-dye binding. Anal. Biochem. 72: 248-254.

Dunford, H. B. (1999). Heme peroxidase nomenclature. Plant Peroxidase Newsl. 13: 65-71.

Incharoensakdi, A. and Laloknam, S. (2005). Nitrate uptake in the halotolerant cyanobacterium Aphanothece halophytica is energy-dependent driven by pH. J. Biochem. Mol. Biol. 38(4): 468–473.

Kavitha K., Venkateraman, G., and Parida A. (2008). An oxidative and salinity stress induced peroxisomal ascorbate peroxidase from Avicennia marine: Molecular and functional characterization. Plant Physiol. Biochem. 46: 794-804.

Kongwithtaya, S., Laloknam, S., and Chairote, G. (2010). Characterization of ammonium precipitant peroxidase from ivy gourd. Proceedings of Pure and Applied chemistry international Conference 2010. Ubon Ratchathani University, Ubon Ratchathani, Thailand.

Mujer, C. U., Mendoza, E. M., and Ramierez, D. A. (1983). Coconut peroxidase isoenzymes: isolation, partial purification and physicochemical properties. Phytochem. 22: 61-65.

Regelsberger, G., Jakopitsch, C., Plasser, L., Schwaiger, H., Furtmuller, P. Peschek, G., Zamocky, M., and Obinger, C. (2002). Occurrence and biochemistry of hydoperoxidases in oxygenic phototrophic prokaryotes (Cyanobacteria). Plant Physiol. Biochem. 40: 479- 490.

Saha, S., Uma, L., and Subramanian, G. (2003). Nitrogen stress induced changes in the marine cyanobacterium Oscillatoria willei BDU 130511. FEMS Microbiol. Ecol. 45: 263-272.

Singh, J., Dubey, A., Diwakar, S., Rawat, S., Batra, N., and Joshi, A. (2010). Biochemical Characterization of peroxidase from the fruits of Mullus pumilus. Int. Res. J. Biotechnol. 1(4): 50-58.

Vernwal, S., Yadav, R., and Yadav, K. (2006). Purification of a peroxidase from Solanum melongena fruit juice. Indian J. Biochem. Biophys. 43: 239- 243.

Most read articles by the same author(s)

> >>