การจัดการฟันกรามล่างแท้ซี่ที่สองล้มเอียง : สาเหตุการเกิด การวินิจฉัย และการรักษา

Authors

  • ญาณพัฒน์ ทรัพย์มณีนุกูล โรงพยาบาลดำเนินสะดวก 146 หมู่ 4 ต.ท่านัด อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี 70130
  • พิชญา ไชยรักษ์ สาขาวิชาทันตกรรมบดเคี้ยว ภาควิชาโอษฐวิทยา ภาควิชาทันตกรรมสำหรับเด็กและทันตกรรมป้องกัน คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สุขุมวิท 23 เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110
  • พลพิทยา วรชาติ สาขาทันตกรรมจัดฟัน ภาควิชาทันตกรรมสำหรับเด็กและทันตกรรมป้องกัน คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สุขุมวิท23 เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

Abstract

การล้มเอียงของฟันกรามล่างแท้ซี่ที่สองเป็นลักษณะที่สามารถพบได้บ่อยในทางคลินิก ซึ่งสาเหตุการเกิดที่พบได้บ่อย คือ การล้มเอียงจากการสูญเสียฟันที่อยู่หน้าต่อฟันซี่นั้นๆ นอกจากนี้อาจเกิดจากการขึ้นของฟันที่ผิดปกติได้เช่นกัน หากละเลยไม่ได้รับการแก้ไขจะทำให้เกิดปัญหาในช่องปากต่างๆ เช่น ฟันผุ โรคปริทันต์ และการสูญเสียฟันได้ ดังนั้นการตรวจพบความผิดปกติได้ตั้งแต่แรกเริ่มพบเห็นร่วมกับการวินิจฉัยแยกโรคและทราบสาเหตุการเกิดได้อย่างถูกต้องจะนำไปสู่การวางแผนการรักษาได้อย่างเหมาะสม ซึ่งแนวทางการรักษาอาจแก้ไขได้ด้วยวิธีการทางทันตกรรมจัดฟันเพียงอย่างเดียวหรือร่วมกับวิธีการทางศัลยกรรมก็ได้ ขึ้นอยู่กับลักษณะและความรุนแรงของการล้มเอียงของฟันกรามซี่นั้นๆคำสำคัญ: ฟันกรามล้มเอียง การตั้งฟันด้วยวิธีการทางทันตกรรมจัดฟัน การตั้งฟันด้วยวิธีการทางทันตกรรมจัดฟันร่วมกับวิธีการทางศัลยกรรม Mandibular Second Molar Tilting Management: Etiology, Diagnosis and TreatmentAbstractA mandibular second molar tilting can often be found in clinical practice. The most common cause is a missing of the tooth anteriorly. In addition, this can also be caused by an unfavorable of the tooth eruption. An untreated molar tilting can affect many oral problems such as dental caries, periodontitis and losing of teeth. Thus, an early detection with a precisely differential diagnosis of the cause can lead to a proper treatment planning which can be orthodontic uprighting alone or combined with surgical approaches depending on the characteristic and severity of the molar tilting.Keywords: Molar tilting, Orthodontic uprighting, Orthodontic uprighting combined with surgicalapproach ว.ทันต.มศว ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2563 หน้า 77-93.SWU Dent J. 2020;13(2):77-93.

Downloads

Download data is not yet available.

Author Biographies

ญาณพัฒน์ ทรัพย์มณีนุกูล, โรงพยาบาลดำเนินสะดวก 146 หมู่ 4 ต.ท่านัด อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี 70130

ทันตแพทย์

พิชญา ไชยรักษ์, สาขาวิชาทันตกรรมบดเคี้ยว ภาควิชาโอษฐวิทยา ภาควิชาทันตกรรมสำหรับเด็กและทันตกรรมป้องกัน คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สุขุมวิท 23 เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

อาจารย์ ทันตแพทย์

พลพิทยา วรชาติ, สาขาทันตกรรมจัดฟัน ภาควิชาทันตกรรมสำหรับเด็กและทันตกรรมป้องกัน คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สุขุมวิท23 เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทันตแพทย์

Downloads

Published

2020-09-29

How to Cite

1.
ทรัพย์มณีนุกูล ญ, ไชยรักษ์ พ, วรชาติ พ. การจัดการฟันกรามล่างแท้ซี่ที่สองล้มเอียง : สาเหตุการเกิด การวินิจฉัย และการรักษา. SWU Dent J. [Internet]. 2020 Sep. 29 [cited 2025 Jan. 22];13(2):77-93. Available from: https://ejournals.swu.ac.th/index.php/swudentj/article/view/12995

Issue

Section

บทความปริทัศน์ (Review articles)