ผลของสารปรับสภาวะเนื้อฟันที่มีผลต่อรอยซึมเล็กตามขอบรอยต่อ ระหว่างเรซินมอดิฟายด์กลาสส์ไอโอโนเมอร์ซีเมนต์และเนื้อฟันผุจำลอง

Authors

  • ศิริจันทร์ เจียรพุฒิ ภาควิชาทันตกรรมอนุรักษ์และทันตกรรมประดิษฐ์ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เลขที่ 114 สุขุมวิท 23 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110
  • ณัฐพัชร์ วงศ์สิริฉัตร คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เลขที่ 114 สุขุมวิท 23 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110
  • ประกายกาญจน์ หาญคณิตวัฒนา คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เลขที่ 114 สุขุมวิท 23 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110
  • สุชญา ชัชวาลวานิช คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เลขที่ 114 สุขุมวิท 23 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110
  • กนกภัสสร บุญดีกุล คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เลขที่ 114 สุขุมวิท 23 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110
  • อภิรัตน์ ฤทธิ์ฐิติ ภาควิชาทันตกรรมอนุรักษ์และทันตกรรมประดิษฐ์ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เลขที่ 114 สุขุมวิท 23 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110
  • วิบุลย์ ไพศาลกอบฤทธิ์ ภาควิชาทันตกรรมอนุรักษ์และทันตกรรมประดิษฐ์ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เลขที่ 114 สุขุมวิท 23 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110
  • ปพิชญา อินทจักร โรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เลขที่ 114 สุขุมวิท 23 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

Abstract

บทคัดย่อ วัตถุประสงค์: เปรียบเทียบความแนบสนิทและรอยซึมเล็กระหว่างเรซินมอดิฟายด์กลาสส์ไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ ฟูจิทู แอลซี กับเนื้อฟัน โดยใช้และไม่ใช้สารปรับสภาวะเนื้อฟัน บนเนื้อฟันปกติกับเนื้อฟันผุจำลอง ภายใต้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด และกล้องจุลทรรศน์แบบสเตอริโอ วัสดุอุปกรณ์และวิธีวิจัย: เตรียมโพรงฟันลึก ขนาด 3x2x1.5 มม. โดยมีขอบอยู่เหนือและใต้ต่อ แนวCEJ 1 มม. โดยเตรียมทางด้านแก้มและด้านลิ้น ของฟันกรามน้อยบน 80 ซี่ จากนั้นแบ่งฟันครึ่งหนึ่งไปแช่สารละลายแร่ธาตุ และปรับสภาวะเนื้อฟันด้วย จีซี เดนทีน คอนดิชั่นเนอร์ จากนั้นนำมาบูรณะด้วยกลาสส์ไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ นำฟันทั้ง 2 กลุ่ม จำนวน 40 ซี่ ไปตัดเพื่อดูรอยต่อระหว่างเรซินมอดิฟายด์กลาสส์ไอโอโนเมอร์ซีเมนต์กับเนื้อฟัน ภายใต้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด และอีก 40 ซี่ นำไปแช่สีย้อมตัดเพื่อดูรอยซึมเล็กภายใต้กล้องจุลทรรศน์แบบสเตอริโอ  จากนั้นทำการให้คะแนนรอยรั่วซึมที่พบจากสีย้อม  และ นำมาวิเคราะห์สถิติ โดยใช้ ค่าสถิติ Kruskal-Wallis และ Mann-Whitney U โดยกำหนดระดับนัยสำคัญที่ร้อยละ 95 ผลการทดลอง: พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญของรอยซึมเลกจากกล้องจุลทรรศน์แบบสเตอริโอ ระหว่างกลุ่มที่ใช้และไม่ใช้สารปรับสภาวะเนื้อฟันในกลุ่มเนื้อฟันปกติ แต่ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญในกลุ่มเนื้อฟันผุจำลอง  นอกจากนี้ยังพบความแตกต่างของความแนบสนิทระหว่างชั้น เดนทิน และ กลาสส์ไอโนเมอร์ซีเมนต์  ในกลุ่มเนื้อฟันปกติที่ทาและไม่ทาสารปรับสภาวะเนื้อฟัน บทสรุป:การใช้สารปรับสภาวะเนื้อฟันในเนื้อฟันปกติจะช่วยลดรอยซึมเล็กระหว่างชั้นรอยต่อของเนื้อฟันและวัสดุบูรณะได้ เนื้อฟันผุจำลองมีคุณภาพของความแนบสนิทที่ด้อยกว่าเนื้อฟันปกติแต่การใช้สารปรับสภาวะเนื้อฟันจะช่วยเพิ่มคุณภาพของความแนบสนิทได้   คำสำคัญ: เนื้อฟันปกติ เนื้อฟันที่มีการสร้างรอยผุจำลอง กลาสส์ไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ สารปรับสภาวะเนื้อฟัน รอยต่อระหว่างวัสดุและผิวเนื้อฟัน

Downloads

Download data is not yet available.

Author Biographies

ศิริจันทร์ เจียรพุฒิ, ภาควิชาทันตกรรมอนุรักษ์และทันตกรรมประดิษฐ์ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เลขที่ 114 สุขุมวิท 23 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

ผู้ช่วยศาสตราจารย์, ทันตแพทย์

ณัฐพัชร์ วงศ์สิริฉัตร, คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เลขที่ 114 สุขุมวิท 23 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

นิสิตทันตแพทย์ระดับปริญญาตรี

ประกายกาญจน์ หาญคณิตวัฒนา, คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เลขที่ 114 สุขุมวิท 23 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

นิสิตทันตแพทย์ระดับปริญญาตรี

สุชญา ชัชวาลวานิช, คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เลขที่ 114 สุขุมวิท 23 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

นิสิตทันตแพทย์ระดับปริญญาตรี

กนกภัสสร บุญดีกุล, คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เลขที่ 114 สุขุมวิท 23 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

นิสิตทันตแพทย์ระดับปริญญาตรี

อภิรัตน์ ฤทธิ์ฐิติ, ภาควิชาทันตกรรมอนุรักษ์และทันตกรรมประดิษฐ์ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เลขที่ 114 สุขุมวิท 23 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

อาจารย์, ทันตแพทย์

วิบุลย์ ไพศาลกอบฤทธิ์, ภาควิชาทันตกรรมอนุรักษ์และทันตกรรมประดิษฐ์ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เลขที่ 114 สุขุมวิท 23 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

อาจารย์, ทันตแพทย์

ปพิชญา อินทจักร, โรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เลขที่ 114 สุขุมวิท 23 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

ทันตแพทย์

Downloads

Published

2019-12-26

How to Cite

1.
เจียรพุฒิ ศ, วงศ์สิริฉัตร ณ, หาญคณิตวัฒนา ป, ชัชวาลวานิช ส, บุญดีกุล ก, ฤทธิ์ฐิติ อ, ไพศาลกอบฤทธิ์ ว, อินทจักร ป. ผลของสารปรับสภาวะเนื้อฟันที่มีผลต่อรอยซึมเล็กตามขอบรอยต่อ ระหว่างเรซินมอดิฟายด์กลาสส์ไอโอโนเมอร์ซีเมนต์และเนื้อฟันผุจำลอง. SWU Dent J. [Internet]. 2019 Dec. 26 [cited 2024 Dec. 22];12(2):38-51. Available from: https://ejournals.swu.ac.th/index.php/swudentj/article/view/12073

Issue

Section

บทวิทยาการ (Original articles)