การพัฒนาบทเรียนบนเว็บตามแนวทฤษฏีการเรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ด้วยปัญญา เรื่องการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
Main Article Content
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างและหา
ประสิทธิภาพของบทเรียนบนเว็บตามแนวทฤษฏีการเรียนรู้เพื่อ
สร้างสรรค์ด้วยปัญญา เรื่อง การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 2)
เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 1 หลังการเรียนจากบทเรียนบนเว็บตามแนวทฤษฏีการเรียนรู้
เพื่อสร้างสรรค์ด้วยปัญญา เรื่อง การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
และ 3) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
1 หลังการเรียนจากบทเรียน บนเว็บตามแนวทฤษฏีการ
เรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ด้วยปัญญา เรื่อง การสร้างหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือนักเรียน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย
นครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2550 จำนวน 35
คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการ
วิจัยได้แก่ บทเรียนบนเว็บตามแนวทฤษฏีการเรียนรู้เพื่อ
สร้างสรรค์ด้วยปัญญา เรื่อง การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แบบประเมินคุณภาพบทเรียนบนเว็บสำหรับผู้เชี่ยวชาญ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบสอบถาม
ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนบนเว็บตามแนว
ทฤษฏีการเรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ด้วยปัญญา เรื่อง การสร้าง
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่
ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test
ผลการวิจัยพบว่า 1) บทเรียนบนเว็บตามแนว
ทฤษฏีการเรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ด้วยปัญญาเรื่อง การสร้าง
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มีประสิทธิภาพ 85.45/84.85 ซึ่งสูง
กว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คือ 80/80 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนของนักเรียนหลังการเรียนจากบทเรียนบนเว็บตามแนว
ทฤษฏีการเรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ด้วยปัญญาเรื่อง การสร้าง
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทาง
สถิติที่ระดับ .05 และ 3) ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อ
บทเรียนบนเว็บ อยู่ในระดับดี
ประสิทธิภาพของบทเรียนบนเว็บตามแนวทฤษฏีการเรียนรู้เพื่อ
สร้างสรรค์ด้วยปัญญา เรื่อง การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 2)
เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 1 หลังการเรียนจากบทเรียนบนเว็บตามแนวทฤษฏีการเรียนรู้
เพื่อสร้างสรรค์ด้วยปัญญา เรื่อง การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
และ 3) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
1 หลังการเรียนจากบทเรียน บนเว็บตามแนวทฤษฏีการ
เรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ด้วยปัญญา เรื่อง การสร้างหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือนักเรียน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย
นครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2550 จำนวน 35
คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการ
วิจัยได้แก่ บทเรียนบนเว็บตามแนวทฤษฏีการเรียนรู้เพื่อ
สร้างสรรค์ด้วยปัญญา เรื่อง การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แบบประเมินคุณภาพบทเรียนบนเว็บสำหรับผู้เชี่ยวชาญ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบสอบถาม
ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนบนเว็บตามแนว
ทฤษฏีการเรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ด้วยปัญญา เรื่อง การสร้าง
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่
ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test
ผลการวิจัยพบว่า 1) บทเรียนบนเว็บตามแนว
ทฤษฏีการเรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ด้วยปัญญาเรื่อง การสร้าง
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มีประสิทธิภาพ 85.45/84.85 ซึ่งสูง
กว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คือ 80/80 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนของนักเรียนหลังการเรียนจากบทเรียนบนเว็บตามแนว
ทฤษฏีการเรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ด้วยปัญญาเรื่อง การสร้าง
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทาง
สถิติที่ระดับ .05 และ 3) ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อ
บทเรียนบนเว็บ อยู่ในระดับดี
Downloads
Download data is not yet available.
Article Details
How to Cite
ปลอดแก้ว ก., & ศรีฟ้า ด. ไ. (2009). การพัฒนาบทเรียนบนเว็บตามแนวทฤษฏีการเรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ด้วยปัญญา เรื่องการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ ศรีนครินทรวิโรฒ, 9(1). Retrieved from https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jedu/article/view/442
Section
บทความวิจัย (Research Articles)