ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อการดำเนินงานคุ้มครองและช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1 THE ADMINISTRATIVE FACTORS AFFECTING THE PROTECTION AND ASSISTANCE TO STUDENTS IN SCHOOL UNDER THE NONTHABURI PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA 1

Main Article Content

สุธีรา บุญพรวงศ์
อรรณพ จีนะวัฒน์
จุฬาลักษณ์ โสระพันธ์

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยการบริหารที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1 2) การดำเนินงานคุ้มครองและช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา 3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการบริหารที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานในสถานศึกษาและระดับการดำเนินงานคุ้มครองและช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา และ      4)สร้างสมการพยากรณ์ของปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อการดำเนินงานคุ้มครองและช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี  เขต 1   กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในวิจัยครั้งนี้  ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1 จำนวน 183 คน   เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยการบริหารสถานศึกษา มีค่าความเที่ยงเท่ากับ  .99และการดำเนินงานคุ้มครองและช่วยเหลือนักเรียน มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .97  ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยการบริหารสถานศึกษาที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงานในสถานศึกษา สังกัดสำนักเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1 ในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2) การดำเนินงานคุ้มครองและช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา ในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก  3) ปัจจัยการบริหาร มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการดำเนินงานคุ้มครองและช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .72 และ 4) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานคุ้มครองและช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1 เรียงตามลำดับได้แก่   ปัจจัยด้านการบริหารจัดการ    และปัจจัยด้านบรรยากาศและวัฒนธรรมองค์การ ดังสมการพยากรณ์ต่อไปนี้                       
                              y =  0.557Zx1+0.511x6

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
บุญพรวงศ์ ส. . ., จีนะวัฒน์ อ. ., & โสระพันธ์ จ. . (2023). ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อการดำเนินงานคุ้มครองและช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1: THE ADMINISTRATIVE FACTORS AFFECTING THE PROTECTION AND ASSISTANCE TO STUDENTS IN SCHOOL UNDER THE NONTHABURI PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA 1. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ ศรีนครินทรวิโรฒ, 24(1), 49–74. Retrieved from https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jedu/article/view/15200
Section
บทความวิจัย (Research Articles)

References

กระทรวงศึกษาธิการ.(2545).ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

จักรพงษ์ วงศ์สุวรรณ. (2664).ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นการศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ. (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต ) มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร,สกลนคร.

จุฑามาศ อิศระภิญโญ. (2562).ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อผลสำเร็จของการทำวิจัยในชั้นเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในจังหวัดสกลนคร.(วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต).มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร,สกลนคร.

ชุตินาถ ศักรินทร์กุล; และอลิสา วัชรสินธุ. ความชุกของการข่มเหงรังแกและปัจจัยด้านจิต สังคมที่เกี่ยวข้องในเด็กมัธยมต้น เขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย. 59, 3 (2557): 221-230.

ณธกร ภาโนมัย ( 2564).ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3.(วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต).มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ,ชัยภูมิ.

ณัฐดนัย วงษาเนาว์(2564).ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการบริหารงานวิชาการโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดนครพนม.(วิทยานิพนธ์ปริญญา ครุศาสตรมหาบัณฑิต).มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร,สกลนคร.

ดารารัตน์ สุนทรมณีรัตน์ (2556). สภาพและปัญหาการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่น เขต 1–5 ( วิทยานิพนธ์ครุศาสตร มหาบัณฑิต)มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย,เลย.

ทิพวรรณ สำเภาแก้ว. (2560). ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สระบุรีแก้ว เขต 2.(วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์,ฉะเชิงเทรา.

ธีร์ ภวังคนันท์ (2562 ).การพัฒนารูปแบบความร่วมมือการดำเนินงานคุ้มครองและช่วยเหลือเด็กนักเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน:กระทรวงศึกษาธิการ.

นพมาศ สุขอุดม. (2560).ปัญหาและแนวทางการพัฒนาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนวัดเขาเชิงเทียนเทพารามสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี.(วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต,ไม่ได้ตีพิมพ์).มหาวิทยาลัยบูรพา,ชลบุรี.

นิศาชล รัตนมณี. (2562). อัตราการตอบกลับของแบบสอบถามในงานวิจัยเชิงปริมาณ. Journal of Humanities and Social Sciences, Thonburi University. 18(1), 181-188.

บัณฑิตาภรณ์ ศรีคำภา. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางการบริหารกับการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี. (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต)มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี,ปทุมธานี.

บัวเครือ โพธิ์ชัย. (2549). ปัญหาการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแก้ว เขต 2.(วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต ):มหาวิทยาลัยบูรพา,ชลบุรี.

ประภาษ จิตรักศิลป์. (2561).ปัจจัยทางการบริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลโรงเรียนตามทัศนะของบุคลากรในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ.(วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต) : มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร,สกลนคร.

ประยงค์ ศรีโทมี (2561).ปัจจัยทางการบริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการจัดการศึกษาของโรงเรียน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20. (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต. สกลนคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

เมรินทกาล พัฒนทรัพย์พิศาล(2561).ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนค,สกลนคร.

ยุวดี ประทุม (2559). ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นทีการศึกษา ประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3.(วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต,ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยบูรพา,ชลบุรี.

ฤทัยชนนี สิทธิชัย และธันยากร ตุดเกื้อ. (2560). พฤติกรรมการรังแกบนโลกไซเบอร์ของเยาวชนในสามจังหวัดชายแดนใต้. วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 28(1), 86-99

วิภาพร ยืนยง (2560). ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการดำเนินงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต,ไม่ได้ตีพิมพ์): มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี,อุบลราชธานี.

วิมาลย์ ลีทอง (2563).ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในจังหวัดสกลนคร. (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต): มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร,สกลนคร.

วิฬาร บุญมาเลิศ (2561). ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาองค์กรให้มีศักยภาพสูง: กรณีศึกษาบริษัท เบทาโกร เกษตรอุตสาหกรรม จำกัด .(วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเกริก,กรุงเทพฯ.

ศูนย์เฉพาะกิจคุ้มครองและช่วยเหลือนักเรียน (2560).แนวทางการให้ความคุ้มครองและช่วยเหลือนักเรียนนักศึกษา.สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน:กระทรวงศึกษาธิการ.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1,(2563) , แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564.นนทบุรี:สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ,(2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560 - 2579. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิค

สุทัศน์ เอี่ยมแสง. (2558) .รายงานผลการดำเนินงาน โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนบ้านแม่งูด อำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 5.

สุภาภรณ์ เที่ยงทางธรรม (2564).การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการบริหารสถานศึกษากับการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยโดยใช้สมองเป็นฐานในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาตราด. (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต ).มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณ, จันทบุรี.

อเนก ไชยคำหาญ.(2559).ปัจจัยทางการบริหารที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานของครูตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพ ครูด้านการปฏิบัติงาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต,ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี,อุดรธานี.

Bartz, A.E. (1999) Basics Statistical Concepts. 4th.ed New Jersey: Prentice Hall. Hair,Joseph F., Black, William C., Babin, Barry J. & Anderson, Rolph E. (2010). Multivariate Data Analysis 7th.ed. NJ: Pearson.

Deming, W. E. (1986). Out of the crisis. Cambridge, MA: Center for Advanced Engineering Study, Massachusetts Institute of Technology.

Sergiovanni, T. J. (2001). Explanation sin Educational Administration.Illinois: St. Louise University.

Wendel G. D. (2000). Gestational and congenital Syphilis. Clin Perinatol 15 : 287-290.