บริบทของการบริหารการตลาดสมัยใหม่ภายใต้แนวคิดการทางานแบบอไจล์

Authors

  • Angkan Kachawangsie Faculty of Management Science, Phranakhon Rajabhat University
  • Jutathip Paholpak Faculty of Management Science, Phranakhon Rajabhat University
  • Jutathip Paholpak Faculty of Management Science, Phranakhon Rajabhat University

Keywords:

การบริหาร การตลาดสมัยใหม่ การทำงานแบบอไจล์

Abstract

อไจล์เป็นแนวคิดและวิธีการบริหารงานขององค์กรยุคดิจิทัล ในการผลักดันธุรกิจให้ขับเคลื่อนไปอย่างรวดเร็วในโลกที่ต้องแข่งขันกันด้วย “ความคล่องตัว” โดยปรับเปลี่ยนโครงสร้างการทำงาน ให้มี ความคล่องตัว มีความยืดหยุ่น ลดขั้นตอนและกระบวนการทำงานลง ให้สามารถทำงานได้เร็วขึ้นและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยอไจล์สามารถนำมาปรับใช้ทำการตลาดให้มีประสิทธิภาพ เพื่อนำเสนอสินค้าและบริการได้เร็วขึ้นกว่าการทำตลาดแบบเดิม ด้วยการสร้างแคมเปญการตลาดขนาดเล็ก หรือประเมิน ความต้องการลูกค้าแบบเรียลไทม์จากข้อมูลที่ทำการเก็บอย่างต่อเนื่อง ซึ่งผลของการนำแนวคิดการทำงานดังกล่าวมาประยุกต์ใช้สามารถสร้างยอดขายที่เพิ่มขึ้นด้วยการนำเสนอสินค้าที่ตอบสนองต่อความต้องการของกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย ดังนั้นนักการตลาดยุคใหม่จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องปรับกลยุทธ์การตลาดให้ทันความเปลี่ยนแปลงผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุปนิสัยและพฤติกรรมใช้จ่ายของผู้บริโภคชาวไทย โดยนำหลัก อไจล์ มาปรับใช้ เสริมประสิทธิภาพในการทำการตลาดในวันที่ไม่มีอะไรเหมือนเดิมอีกต่อไป

Downloads

Download data is not yet available.

Author Biography

Angkan Kachawangsie, Faculty of Management Science, Phranakhon Rajabhat University

อังคาร  คะชาวังศรี. (2561). กลยุทธ์ธุรกิจค้าปลีกไทยเพื่อการแข่งขันในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2561. (TCI 2)อังคาร  คะชาวังศรี. (2561). การสร้างตราสินค้าผ่านประสาทสัมผัส: กลยุทธ์สำหรับธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย (ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2561. (TCI 2)อังคาร คะชาวังศรี, สุบัน บัวขาว และ วรวลัญช์ วุฒิ. (2562). กลยุทธ์การสร้างความผูกพันต่อตราสินค้าธุรกิจกับ การให้บริการของกลุ่มลูกค้าผู้สูงวัย. Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences), ปีที่ 14 ฉบับที่2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2562) (TCI 1)อังคาร คะชาวังศรี และอภิศักดิ์ คู่กระสังข์. (2563). กลยุทธ์การส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงอาหารอย่างสร้างสรรค์ โดยการประยุกต์ใช้การสื่อสารการตลาดผ่านแนวคิดเกมิฟิเคช่ัน. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร, ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2563 (TCI 1)สุบัน บัวขาว, วรวลัญช์ วุฒิ, อรมน ปั้นทอง, อังคาร คะชาวังศรี, มณภร มนุญศาสตรสาทร และธมลวรรณ ธีระบัญชร (2563). การพัฒนาศักยภาพทางการตลาดธุรกิจชุมชนตำบลสาริกา อ.เมือง จ.นครนายก. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร, ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2563) (TCI 2)อังคาร คะชาวังศรี และอรรถพร พฤทธิพงษ์. (2563). กลยุทธ์แบบน่านน้ำสีครามเพื่อสร้างความแตกต่างที่ยั่งยืนของ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแบบดั่งเดิมในจังหวัดนครนายกของประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสารมหาวิทยาลัยนเรศวร, ปีที่ 15 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2563 (TCI 1)

Downloads

Published

27-02-2022

How to Cite

Kachawangsie, A., Paholpak, J., & Paholpak, J. (2022). บริบทของการบริหารการตลาดสมัยใหม่ภายใต้แนวคิดการทางานแบบอไจล์. วารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทรวิโรฒ: Srinakharinwirot Business Journal, 12(2), 139–151. Retrieved from https://ejournals.swu.ac.th/index.php/MBASBJ/article/view/14046