เอสพีอาร์จีเทคโนโลยีในงานทันตกรรม: บทความปริทัศน์แบบกระชับได้ใจความ

Authors

  • อวิรุทธ์ คล้ายศิริ สาขาวิชาทันตกรรมหัตถการ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์(ศูนย์รังสิต) เลขที่ 99 หมู่ 18 ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120
  • จารุกฤษ วงษ์สังข์ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์(ศูนย์รังสิต) เลขที่ 99 หมู่ 18 ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120
  • ธนัช ลีลาอุดม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์(ศูนย์รังสิต) เลขที่ 99 หมู่ 18 ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120
  • ธนาศักดิ์ รักษ์มณี สาขาวิชาทันตกรรมหัตถการ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์(ศูนย์รังสิต) เลขที่ 99 หมู่ 18 ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120
  • ศีลัสยา ลีลาพงศ์ฤทธิ์ สาขาวิชาทันตกรรมหัตถการ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์(ศูนย์รังสิต) เลขที่ 99 หมู่ 18 ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120
  • นันทวรรณ กระจ่างตา สาขาวิชาทันตกรรมหัตถการ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์(ศูนย์รังสิต) เลขที่ 99 หมู่ 18 ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120

Abstract

พรีรีแอคเต็ดกลาสส์ไอโอโนเมอร์ (พีอาร์จี) เทคโนโลยี เป็นเทคโนโลยีการสร้างวัสดุอัดแทรกชนิดใหม่ที่สามารถปลดปล่อยไอออนได้ 6 ชนิด ประกอบด้วยโซเดียมไอออน สตรอนเชียมไอออน อะลูมิเนียมไอออนโบรอนไอออน ซิลิกาไอออน และฟลูออรีนไอออน โดยเรียกวัสดุอัดแทรกชนิดนี้ว่า วัสดุอัดแทรกพีอาร์จี ซึ่งมีสมบัติช่วยส่งเสริมการคืนกลับแร่ธาตุ ลดการสูญเสียแร่ธาตุ ต่อต้านสภาพความเป็นกรด ยับยั้งการเกิดคราบจุลินทรีย์ และยับยั้งแบคทีเรียที่ทำให้เกิดโรคฟันผุ ดังนั้นจึงมีการนำวัสดุอัดแทรกพีอาร์จีใส่ในวัสดุทันตกรรมเพื่อหวังผลจากสมบัติข้างต้น โดยบทความปริทัศน์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงถึงพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ สมบัติของวัสดุอัดแทรกพีอาร์จี และการประยุกต์ใช้วัสดุอัดแทรกพีอาร์จีในงานทันตกรรมคำสำคัญ: วัสดุทางทันตกรรม วัสดุอัดแทรก พรีรีแอคเต็ดกลาสส์ไอโอโนเมอร์ S-PRG Technology in Dentistry: A Concise ReviewAwiruth Klaisiri  Jarukit Vongsang  Thanach leelaudom  Thanasak Rakmanee  Seelassaya Leelaponglit  Nantawan KrajangtaAbstractPre-reacted glass-ionomer (PRG) technology is a technology that produces new filler materials,which can release six ions including Sodium ion, Strontium ion, Aluminium ion, Boron ion, Silicaion, and Fluorine ion so this filler material is called PRG filler. Its properties are to help promoteremineralization, reduce demineralization, have acid buffering capacity, an anti-plaque effect, andbacteriostatic effect on dental caries prevention. Therefore, PRG filler has been incorporated intodental material. The objectives of this review article are to evaluate the fundamental science,properties, and applications of PRG filler in dentistry.Keywords: Dental materials, Filler, Pre-reacted glass-ionomer ว.ทันต.มศว ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2565 หน้า 93-107. SWU Dent J. 2021;15(1):93-107. 

Downloads

Download data is not yet available.

Author Biographies

อวิรุทธ์ คล้ายศิริ, สาขาวิชาทันตกรรมหัตถการ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์(ศูนย์รังสิต) เลขที่ 99 หมู่ 18 ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120

รศ.ทพ.

ธนาศักดิ์ รักษ์มณี, สาขาวิชาทันตกรรมหัตถการ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์(ศูนย์รังสิต) เลขที่ 99 หมู่ 18 ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120

อ.ทพ.

ศีลัสยา ลีลาพงศ์ฤทธิ์, สาขาวิชาทันตกรรมหัตถการ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์(ศูนย์รังสิต) เลขที่ 99 หมู่ 18 ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120

อ.ทพญ.

นันทวรรณ กระจ่างตา, สาขาวิชาทันตกรรมหัตถการ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์(ศูนย์รังสิต) เลขที่ 99 หมู่ 18 ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120

ผศ.ทพญ.ดร.

Downloads

Published

2022-04-01

How to Cite

1.
คล้ายศิริ อ, วงษ์สังข์ จ, ลีลาอุดม ธ, รักษ์มณี ธ, ลีลาพงศ์ฤทธิ์ ศ, กระจ่างตา น. เอสพีอาร์จีเทคโนโลยีในงานทันตกรรม: บทความปริทัศน์แบบกระชับได้ใจความ. SWU Dent J. [Internet]. 2022 Apr. 1 [cited 2025 Jan. 22];15(1):93-107. Available from: https://ejournals.swu.ac.th/index.php/swudentj/article/view/14313

Issue

Section

บทความปริทัศน์ (Review articles)