Postoperative Complications from Oral Minor Surgery in Patients on Oral Antithrombotic Drugs

Authors

  • Preecha Chesdachai Dental department, Taksin Hospital, 543 Somdet Chaopraya Road, Khlong San Sub-district, Khlong San District, Bangkok, 10600, Thailand.
  • Supaporn Viriyajirakul Dental department, Taksin Hospital, 543 Somdet Chaopraya Road, Khlong San Sub-district, Khlong San District, Bangkok, 10600, Thailand.
  • Warawut Umpornwirojkit Internal Medicine Section, Taksin Hospital, 543 Somdet Chaopraya Road, Khlong San Sub-district, Khlong San District,Bangkok 10600, Thailand.
  • Usasiri Srisakul Faculty of Pharmacy, Siam University, Petchkasem Road, Bang Wa Sub-district, Phasi Charoen District, Bangkok 10160, Thailand.

Abstract

Objectives: To compare of bleedings and systemic complications after minor oral surgerybetween patients with interrupted antithrombotic drugs (IAT) and continued antithrombotic drugs(CAT)Materials and Methods: An observational retrospective cohort study retrieved from patientmedical records at Taksin hospital between January 2017 to December 2018. Data were collectedfrom patients who underwent oral minor surgery with a history of IAT or CAT perioperatively. Postoperativecomplications including bleeding, myocardial infarction, and stroke, were evaluated.Results: A total of 574 patients, (54.2% male) with mean age of 66.89 ± 10.63 years old.were included. In general, there were patients with hypertension (68.30%), type 2 diabetes mellitus(48.60%), aspirin monotherapy (77.40%), dental extraction (92.70%) and IAT (54.18%). The resultsshowed that patients in the CAT group had a similar incidence of post-operative bleedings to theIAT group (1.14 vs. 1.29%, respectively) with an adjusted OR of 0.446 (95% CI 0.080–2.494, p = 0.358).In contrast, the IAT group had a slight trend without statistical significance towards post-operativesystemic complications compared with CAT group (2.57 vs. 1.90%, respectively) with an adjustedOR of 1.422 (95% CI 0.454–4.452, p = 0.545).Conclusions: Continuing the antithrombotic drugs did not increase the post-operative bleedingrisk. However, interrupting the antithrombotic drugs may influence the risk of systemic complications.Therefore, any individual patient should be carefully assessed for the risks and benefits ofantithrombotic drugs before consideration of perioperative antithrombotic interruption.Keywords: Antithrombotic drug, Anticoagulants, Antiplatelets, Oral minor surgery, Thromboembolism,Systemic complication ภาวะแทรกซ้อนภายหลังการทำศัลยกรรมขนาดเล็กในช่องปาก ในผู้ป่วยที่รับยาต้านการเกิดลิ่มเลือดชนิดรับประทานบทคัดย่อวัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบอัตราการเกิดภาวะเลือดออก และอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางระบบ จากการทำศัลยกรรมขนาดเล็กในช่องปาก ระหว่างผู้ป่วยที่หยุดยาและไม่หยุดยาต้านการเกิดลิ่มเลือดวัสดุอุปกรณ์และวิธีการ: การศึกษาเชิงสังเกตการณ์แบบย้อนหลังจากเวชระเบียนผู้ป่วยที่โรงพยาบาล ตากสิน ระหว่าง มกราคม 2560 ถึง ธันวาคม 2561 โดยบันทึกข้อมูลในผู้ป่วยที่เข้าทำศัลยกรรมขนาดเล็กในช่องปาก และมีประวัติการหยุดยา หรือไม่หยุดยาต้านการเกิดลิ่มเลือด ก่อนทำหัตถการ และมีข้อมูลติดตามการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังทำหัตถการ ได้แก่ ภาวะเลือดออก และโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด หรือโรคหลอดเลือดสมองผลการทดลอง: จำนวนผู้ป่วย ทั้งหมด 574 คน มีอายุเฉลี่ย 66.89 ± 10.63 ปี และร้อยละ 54.20 เป็นเพศชาย ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีประวัติเป็นโรคความดันโลหิตสูง (ร้อยละ 68.30) โรคเบาหวานชนิดที่ 2 (ร้อยละ 48.60) ใช้ยาแอสไพรินเดี่ยว (ร้อยละ 77.40) เข้ารับการถอนฟัน (ร้อยละ 92.70) และหยุดยาต้านการเกิดลิ่มเลือดก่อนทำหัตถการ (ร้อยละ 54.18) ผลการวิเคราะห์พบว่า ผู้ป่วยที่ไม่หยุดยาต้านการเกิดลิ่มเลือด มีอุบัติการณ์เกิดภาวะเลือดออกหลังทำหัตถการใกล้เคียงกับผู้ป่วยที่หยุดยาต้านการเกิดลิ่มเลือด (ร้อยละ 1.14 และ 1.29 ตามลำดับ) และมีค่า adjusted OR เท่ากับ 0.446 (95% CI 0.080-2.494 และ p = 0.358) ในทางกลับกันพบว่า ผู้ป่วยที่หยุดยาต้านการเกิดลิ่มเลือดมีแนวโน้มเล็กน้อยต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางระบบ หลังการทำหัตถการ มากกว่าผู้ป่วยที่ไม่หยุดยาต้านการเกิดลิ่มเลือด (ร้อยละ 2.57 และ 1.90 ตามลำดับ) และมีค่า adjusted OR เท่ากับ 1.422 (95% CI 0.454–4.452 และ p = 0.545)สรุป: การไม่หยุดยาต้านการเกิดลิ่มเลือดไม่เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะเลือดออกหลังการทำหัตถการ อย่างไรก็ตาม การหยุดยาต้านการเกิดลิ่มเลือดอาจเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดดังนั้น ควรประเมินความเสี่ยงและประโยชน์ของผู้ป่วยแต่ละรายอย่างรอบคอบก่อนพิจารณาการหยุดยาต้านการเกิดลิ่มเลือดก่อนทำหัตถการคำสำคัญ: ยาต้านการเกิดลิ่มเลือด ยาต้านการแข็งตัวของเลือด ยาต้านเกล็ดเลือด ศัลยกรรมขนาดเล็กในช่องปากภาวะลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือด ภาวะแทรกซ้อนทางระบบ ว.ทันต.มศว ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2563 หน้า 22-37.SWU Dent J. 2020;13(2):22-37.

Downloads

Download data is not yet available.

Author Biographies

Preecha Chesdachai, Dental department, Taksin Hospital, 543 Somdet Chaopraya Road, Khlong San Sub-district, Khlong San District, Bangkok, 10600, Thailand.

ทันตแพทย์

Supaporn Viriyajirakul, Dental department, Taksin Hospital, 543 Somdet Chaopraya Road, Khlong San Sub-district, Khlong San District, Bangkok, 10600, Thailand.

ทันตแพทย์

Warawut Umpornwirojkit, Internal Medicine Section, Taksin Hospital, 543 Somdet Chaopraya Road, Khlong San Sub-district, Khlong San District,Bangkok 10600, Thailand.

นายแพทย์

Usasiri Srisakul, Faculty of Pharmacy, Siam University, Petchkasem Road, Bang Wa Sub-district, Phasi Charoen District, Bangkok 10160, Thailand.

อ.ดร.ภญ.

Downloads

Published

2020-09-29

How to Cite

1.
Chesdachai P, Viriyajirakul S, Umpornwirojkit W, Srisakul U. Postoperative Complications from Oral Minor Surgery in Patients on Oral Antithrombotic Drugs. SWU Dent J. [Internet]. 2020 Sep. 29 [cited 2024 Dec. 13];13(2):22-37. Available from: https://ejournals.swu.ac.th/index.php/swudentj/article/view/12982

Issue

Section

บทวิทยาการ (Original articles)