การแยกประเภทขยะมูลฝอยในมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร
Main Article Content
Abstract
Wijittra maijan, Pichamon Kummunglakarn and Supaporn Sirisopana
รับบทความ: 8 กุมภาพันธ์ 2554; ยอมรับตีพิมพ์: 28 เมษายน 2554
บทคัดย่อ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร มีจำนวนประชากรอยู่จำนวนมากประกอบด้วย เจ้าหน้าที่สำนักงาน คณาจารย์ และนิสิต รวมถึงผู้ที่เข้ามาติดต่อกับทางมหาวิทยาลัย ซึ่งมีจำนวนไม่น้อยกว่า 10,000 คนต่อวัน ทำให้ปัญหาที่ตามมาคือ ปริมาณขยะมูลฝอยที่มีมากในแต่ละวัน ดังนั้นทางมหาวิทยาลัยจึงมีการจัดการแยกขยะมูลฝอยออกเป็น 2 รูปแบบ คือ แบ่งตามประเภทหรือชนิดของมูลฝอย และแบ่งตามลักษณะของขยะ นอกจากนี้ทางมหาวิทยาลัยได้มีการรณรงค์ด้วยการจัดทำโครงการธนาคารวัสดุรีไซเคิล และแนวทางการคัดแยกขยะมูลฝอยของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ซึ่งโครงการดังกล่าวสามารถลดและควบคุมปริมาณขยะมูลฝอยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
คำสำคัญ การคัดแยก ขยะมูลฝอย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Abstract
Srinakharinwirot University, Prasarnmit where there are officers, teachers, and students as well as the people who contact with university about 10,000 persons. A number of people make a big problem called solid waste. There are two criteria to sort the solid waste: classifying by the types or kinds of wastes, and their characters. The university promotes a new project named Solid waste recycle bank to manage the amount of solid waste. By the way, this project showed high efficiency and could decrease and control the content of solid waste.
Keywords: Sorting, Solid waste, Srinakharinwirot University
Downloads
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial 4.0 International License.
References
กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม. (2542). เกณฑ์ มาตรฐาน และ แนวทาง การจัดการขยะมูลฝอยชุมชน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.
กัลยา สุนทรวงศ์สกุล. (2543). ถังรองรับมูลฝอยสาธารณะกับการคัดแยกมูลฝอย.วารสารสิ่งแวดล้อม 4(17): 42-45.
ฉันทนา ลิ้มนิรันดร์กุล. (2540). การแยกประเภทขยะมูลฝอย. วารสารอนามัยสิ่งแวดล้อม 1(1): 46-52.
ธนพรรณ สุนทระ. (2546). การกำจัดขยะชุมชนและแนวทาง แก้ไข. วารสารสิ่งแวดล้อม 9(2): 10-16.
สภาทนายความแห่งประเทศไทย. (2538). รวมกฎหมายสิ่งแวดล้อม. นนทบุรี: มายด์พับลิชชิ่ง.
สุภาภรณ์ ศิริโสภณา. (2546). ขยะชุมชน สถานที่ฝังกลบ และการฟื้นฟู. วารสารวิทยาศาสตร์ มศว 22(2): 104-121.
Tchobanoglous, G., Theisen, H., and Vigil, S. (1993). Integrated Solid Waste Management Engineer-ing Principles and Management Issue. New York: McGraw-Hill.