ศักยภาพของไซยาโนแบคทีเรียในอนาคตประเทศไทย
Main Article Content
Abstract
Surasak Laloknam and Bongkoj Boonburapong
รับบทความ: 25 กันยายน 2555; ยอมรับตีพิมพ์: 18 พฤศจิกายน 2555
บทคัดย่อ
ไซยาโนแบคทีเรียหรือสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดโพรคาริโอต ซึ่งเป็นผู้ผลิตลำดับแรกในระบบนิเวศเนื่องจากสามารถสังเคราะห์ด้วยด้วยแสงได้ ไซยาโนแบคทีเรียพบได้ในสิ่งแวดล้อมที่มีความหลากหลาย ได้แก่ พื้นดินที่มีความชื้น บ่อน้ำ แม่น้ำ และทะเล นอกจากนี้ยังพบเจริญร่วมกับสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ เช่น ปรง และ ไดอะตอม ประเทศไทยมีการ ศึกษาความหลากหลายของไซยาโนแบคทีเรียในที่ที่มีความเค็ม แม่น้ำ และบ่อน้ำพุร้อน พบว่ามีความหลากหลายของไซยาโน-แบคทีเรีย ที่เป็นแบบเส้นสาย และเซลล์เดี่ยว มีการศึกษาวิจัยอย่างแพร่หลายเกี่ยวกับไซยาโนแบคทีเรียและนำไปใช้ประโยชน์ในหลายด้าน ได้แก่ สิ่งแวดล้อม อุตสาหกรรมอาหาร การเกษตร การแพทย์ และพลังงานทดแทน รวมถึงการทำเป็นการท่อง-เที่ยวเชิงเกษตร ด้วยศักยภาพของไซยาโนแบคทีเรียที่มีความสามารถคล้ายพืชชั้นสูง และเจริญเติบโตได้เร็ว จึงมีการศึกษาวิจัยอย่างแพร่หลายเพื่อนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับประเทศ
คำสำคัญ: ไซยาโนแบคทีเรีย ความหลากหลาย ประโยชน์ของไซยาโนแบคทีเรีย
Abstract
Cyanobacteria (blue-green algae) are eukaryote, primary producer in ecosystem and photosynthetic organisms. These organisms found in various environments, moisture soils, ponds, rivers and seas as well as symbiosis with other organisms as Cycad and Diatoms. In Thailand, we found cyanobacteria in high saline environment and hot springs. Single cell and filamentous cyanobacteria were found. There are many applications of cyanobacteria such as environment, food industry, agriculture, medicine and renewable energy as well as an agro-tourism. Because of potential function of cyanobacteria like higher plant and growth faster also cyanobacteria were extensively to research for maximum benefit for the country.
Keywords: Cyanobacteria, Diversity, Application of cyanobacteria
Downloads
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial 4.0 International License.
References
บงกช บุญบูรพงษ์ อาภรณ์ บัวหลวง อรัญ อินเจริญศักดิ์ ยุวธิดา นิลผาย ปนัดดา พ่วงขวัญ อภิญญาณ บุญประกอบกูล และ สุรศักดิ์ ละลอกน้ำ. (2554). ผลของไกลซีน โพรลีน และกลูตาเมต ต่อการเจริญของไซยาโนแบคทีเรีย Synechococcus PCC7942, Synechocytis PCC6803 และ Aphanothece halophytica ภายใต้ภาวะปกติและภาวะที่มีความเครียดจากเกลือ. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ 2(1): 48–58.
ยุวดี พีรพรพิศาล. (2549). สาหร่ายวิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 2. เชียงใหม่: ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหา-วิทยาลัยเชียงใหม่.
สุรศักดิ์ ละลอกน้ำ. (2554). การปรับตัวของไซยาโนแบคทีเรียภายใต้ภาวะเครียดจากเกลือ. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ 2(1): 82–88.
อุดมลักษณ์ มณีโชติ. (2552). รายงานการประชุม เรื่อง การทบทวนระเบียนรายการสาหร่ายและแพลงก์-ตอนพืชในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สำนักนโยบายและแผน.
Hagemann, M., and Erdmann, N. (1997). Cyano-bacterial nitrogen metabolism and environ-mental biotechnology. In Springer Verlag. Rai, A. K. (Ed.). pp. 155–221. New Delhi: Narosa Publishing House.
Laloknam, S., Tanaka, K., Buaboocha, T., Waditee, R., Incharoensakdi, A., Hibino, T., Tanaka, Y., and Takabe, T. (2006). Halotolerant Cyanobacterium Aphanothece halophytica Contains a Betaine Transporter Active at Alkaline pH and High Salinity. Appl. Environ. Microbiol. 72(9): 6018– 6026.
Venkataraman. (1981). Blue green algae: a possible remedy to nitrogen scarcity. Curr. Sci. (50): 253–256.
Viet, F.G. (1965). The plant’s need for and use of nitrogen: Soil Nitrogen. Wisconsin: Society of Agon.
Waditee R, Bhuiyan MNH, Rai V, Aoki K, Tanaka Y, Hibino T, Suzuki S, Takano J, Jagendorf AT, Takabe T, Takabe T. 2005. Genes for direct methylation of glycine provide high levels of glycinebetaine and abiotic-stress tolerance in Synechococcus and Arabidopsis Proc. Natl. Acad. Sci. USA. 102: 1318–1323.
Waditee, R., Hibino, T., Nakamura, T., Incharoensakdi, A., and Takabe, T. 2002. Overexpression of a Na+/H+ antiporter confers salt tolerance on a freshwater cyanobacterium, making it capable of growth in sea water. Proc. Natl. Acad. Sci. USA 99: 4109–4114.
Wolk, C.P., Ernst, A., and Elhai, J. (1994). Heterocyst metabolism and development. In The Molecular Biology of the Cyanobacteria. Bryant, D.A. pp. 769–823. Netherlands: Kluwer Academic.