การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางใจสำหรับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขโดยใช้โปรแกรมการปรึกษาเชิงจิตวิทยา THE ENHANCEMENT OF PSYCHOLOGICAL IMMUNITY FOR HEALTHCARE PROFESSIONALS THROUGH PSYCHOLOGICAL COUNSELING PROGRAM

Main Article Content

สินีนาฏ วิทยพิเชฐสกุล
เพ็ญนภา กุลนภาดล
ชนัดดา แนบเกษร

Abstract

การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนานวัตกรรมการปรึกษาเชิงจิตวิทยาเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางใจของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข และ 2) ศึกษาผลของนวัตกรรมการปรึกษาเชิงจิตวิทยาเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางใจของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขที่ทำงานในประเทศไทย มีค่าเฉลี่ยภูมิคุ้มกันทางใจตั้งแต่เปอร์เซ็นไทล์ที่ 35 ลงมา และมีความสมัครใจที่จะเข้าร่วมการทดลอง จำนวน 20 คน  ทำการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เข้าสู่กลุ่มทดลอง 10 คน และกลุ่มควบคุม 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวัดภูมิคุ้มกันทางใจ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ  .871 และนวัตกรรมการปรึกษาเชิงจิตวิทยา วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ  ประเภทหนึ่งตัวแปรภายในกลุ่ม ผลการวิจัยพบว่า 1) นวัตกรรมการปรึกษาเชิงจิตวิทยา จำนวน 8 ครั้ง ครั้งละ 60-90 นาที โดยครั้งที่ 1 และครั้งที่ 8 เป็นการปรึกษาแบบพบหน้า ครั้งที่ 2-5 เป็นการให้การปรึกษาแบบออนไลน์ และครั้งที่ 6-7 เป็นการศึกษาด้วยตนเอง และ 2) การศึกษาผลของนวัตกรรมการปรึกษาเชิงจิตวิทยา พบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนภูมิคุ้มกันทางใจในระยะหลังการทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม และกลุ่มทดลองมีคะแนนภูมิคุ้มกันทางใจในระยะหลังการทดลองและระยะติตตามผลสูงกว่าระยะก่อนทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05   

Article Details

How to Cite
วิทยพิเชฐสกุล ส. ., กุลนภาดล เ., & แนบเกษร ช. (2024). การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางใจสำหรับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขโดยใช้โปรแกรมการปรึกษาเชิงจิตวิทยา: THE ENHANCEMENT OF PSYCHOLOGICAL IMMUNITY FOR HEALTHCARE PROFESSIONALS THROUGH PSYCHOLOGICAL COUNSELING PROGRAM. วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 19(1), 1–17. Retrieved from https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jre/article/view/15673
Section
บทความวิจัย (Research Articles)

References

กิตติชัย สุธาสิโนบล. (2562). หลักสูตรและการเรียนรู้แบบดิจิทัล. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ ศรีนครินทรวิโรฒ, 20(1): 200-211.

ชาริณี อิ่มนาง สิริรัตน์ ตรีพุทธรัตน์ เทพกร สาธิตการมณี และลำไย แสบงบาล. (2564). ความเครียดของบุคลากรด้านวิสัญญีในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ในสถานการณ์ที่เกิดการระบาดของโรค Covid-19. ศรีนครินทร์เวชสาร, 36(3), 347-352.

ปาริชาติ ปาละนันทน์. (2557). อีเลิร์นนิ่งกับการจดัการเรียนการสอนในปัจจุบัน. วิชาการรัตนบัณฑิต, 8(2), 84-97.

ผ่องพรรณ เกิดพิทักษ์. (2551). แนวคิดและแนวปฏิบัติในการให้การปรึกษาแบบผสมผสานในประมวลสาระชุดวิชา ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการให้การปรึกษา หน่วยที่ 12. (พิมพ์ครั้งที่ 3). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

มณฑิรา จารุเพ็ง. (2560). การศึกษาและพัฒนาภูมิคุ้มกันทางจิตของวัยรุ่นไทย. วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษา มศว.ม., 12(1), 173-192.

วรางคณา โสมะนันท์ คาลอส บุญสุภา และพลอยไพลิน กมลนาวิน. (2564). การให้บริการการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบออนไลน์: มิติใหม่ของการให้บริการปรึกษาเชิงจิตวิทยา. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมถ์, 15(1): 247-260.

วิศิษฎ์ เนติโรจนกุล. (2563). ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของปัญหาทางสุขภาพจิตของบุคลากรทางการแพทย์โรงพยาบาลนครปฐมในยุคการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19). วารสารแพทย์เขต 4-5, 39(4), 616-627.

ศิริพร บุญชาลี. (2553). ประสบการณ์การปฏิบัติงานของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ.

สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2564) เอกสารประกอบการระดมความเห็นกรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13. กุมภาพันธ์ 2564.

สุภัทรา ภูษิตรัตนาวลี อัสมา พิมพ์ประพันธ์ และดรุณี อิ่มด้วง. (2563). การพัฒนาภูมิคุ้มกันทางจิตในการป้องกันการเสพยาเสพติดให้โทษของเยาวชน ในจังหวัดนครศรีธรรมราชผ่านวิธีการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง. วารสารเทคโนโลยีภาคใต้, 13(2), 43-53.

สุววุฒิ วงศ์ทางสวัสดิ์. (2553). การบริการด้านสุขภาพจิตทางอินเตอร์เน็ต: ลักษณะปัญหาของผู้มารับบริการและประสบการณ์ของผู้ให้บริการผ่านโปรแกรมเอ็มเอสเอ็น. ปริญญานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษา,คณะจิตวิทยา,จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อรพินทร์ ชูชม. (2556). การพัฒนาแบบวัดภูมิคุ้มกันตน. วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, 3(1), 8-19.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2564) เอกสารประกอบการระดมความเห็นกรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13. กุมภาพันธ์ 2564.

Albert-LOrincz E, Albert-LOrincz M, Kadar A, Krizbai T, Lukács-Márton R. (2011). Relationship between the characteristics of the psychological immune system and the emotional tone of personality in adolescents. New Educ Rev ;23(1), 103-113.

Bohlken J, Schoming F, Lemke MR, Pumberger M, Riedel-Heller SG. (2020). COVID-19 Pandemic: Stress Experience of Healthcare Workers – A Short Current Review. Psychiatrische Praxis, 47, 190-197.

Choochom O. (2013). The development of a self-immunity scale. Journal of Psychology Kasem Bundit University. 3(1), 8-19.

Eckstein, D., Kunzel,V., Schafe, L. and Winges, M., (2020). Global Climate Risk Index 2020: Who Suffers Most from Extreme Weather Events? Weather-Related Loss Events in 2018 and 1999 to 2018. Germanwatch e.V.. Retrieved from https://www.germanwatch.org/sites/germanwatch.org/files/20-2-01e%20Global%20Climate%20Risk%20Index%202020_14.pdf.

Foody, M., Mathanna, S., & Carlbring, P. (2015). A review of cyberbullying and suggestions for online psychological therapy. Journal of Internet Interventions, 1, 1-8.

Gao J, Zheng P, Jia Y, Chen H, Mao Y, Chen S, et al. (2020). Mental Health Problems and Social Media Exposure During COVID-19 Outbreak. SSRN Electronic Journal. Published online 2020 Feb 20. doi:10.2139/ssrn.3541120.

Howell, D. C. (1997). Statistical methods for psychology (4th ed.). New York: Duxbury Press.

Huang Y. and Zhao N. (2021). Mental health burden for the public affected by the COVID-19 outbreak in China: Who will be the high-risk group? Psychology, Health & medicine, 26(1), 23-24. https://doi.org/10.1080/13548506.2020.1754438.

Kenneth R. Kaufman, Eva Petkova, Kamaldeep S.Bhui and Thomas G. Schulza. (2020). A global needs assessment in times of a global crisis: world psychiatry response to the COVID-19 pandemic, BJPsych Open, 6, e48, 1-3 doi: 10.119/bjo.2020.25.

Miller, S.D., & Hubble, M. (2011). The road to mastery. Psychotherapy Networker, 35(3), 22-31.

Norcross, J.C. (2005). The Psychotherapist’s own psychotherapy: Educating and developing psychologist. American Psychologist, 60(8), 840-850.

Norcross, J.,& Beutler, L. (2008). Integrative psychotherapies. In R. Corsini & D. Wedding (Eds), Current.

OECD (2015). The Economic Consequences of Climate Chan. Retrieved from http://dx.doi.org/10.1787/9789264235410-en.

Oláh A, Kapitany-Foveny M. (2012). Ten years of positive psychology. Magyar Pszichológiai Szemle, 67(1), 19-45. doi:10.1556/MPSzle.67.2012.1.3

Pearman A., MacKenzie L.H., Emily L.S. and Shevaun D.N. (2020). Mental Health Challenges of United States Healthcare Professionals During COVID-19. Frontiers in Psychology, 11, 1-7. Doi:10.3389/fpsyg.2020.02065.

Suryavanshi N., Kadam A., Dhumal G., Nimkar S., Mave V., Gupta A., Samyra R.Cox and Gupte N. (2020). Mental health and quality of life among healthcare professionals during the COVID-19 pandemic in India. Brain Behav, 10, e01837. https://doi.org/10.1002/brb3.1837.

Thakura, V and Jainb. A. (2020). Brain Behavior and Immunity, 88, 952-953 Retrieved from www.elsevier.com/locate/ybrbi.

Vagni M, Maiorano T, Giostra V, Pajardi D. (2020). Coping with COVID-19: Emergency Stress, Secondary Trauma and Self-Efficacy in Healthcare and Emergency Workers in Italy. Front Psychol, 11, 566-912.

Zidan E. (2013). The psychological immunity, its’ definitions, dimensions. Journal of Faculty of Education. Tanta University, 8(51), 811-822.

Most read articles by the same author(s)