เทคโนโลยีการผลิตเภสัชภัณฑ์แตกตัวในช่องปาก Oral Disintegrating Dosage Forms Technologies
Abstract
บทคัดย่อ รูปแบบการบริหารยาโดยการรับประทานเป็นรูปแบบที่นิยมใช้มากที่สุด เนื่องจาก มีความปลอดภัยสูง ง่ายและสะดวก รวมทั้งได้รับความร่วมมือในการใช้ยาจาก ผู้ป่วย นอกจากนี้รูปแบบเภสัชภัณฑ์ของแข็งยังเป็นที่ยอมรับจากผู้ป่วยอย่าง แพร่หลายทัง้ ผู้ใหญ่และวัยรุ่น อย่างไรก็ตามยารูปแบบของแข็งนี้อาจเป็นปญั หาใน ผู้ป่วยเด็ก ผู้ป่วยสูงอายุ และผู้ที่มีปญั หาในการกลืน ทำให้ความร่วมมือในการใช้ ยาลดลง และการรักษาโดยใช้ยาได้ผลไม่เต็มที่ ดังนั้นนักวิจัยจึงได้พัฒนารูปแบบ ยาชนิดแตกตัวในช่องปาก เทคโนโลยีของยารูปแบบใหม่นี้ออกแบบเพื่อให้ยาเม็ด แตกตัวอย่างรวดเร็วในน้ำลายหรือช่องปาก ทำให้มีข้อดีที่เหนือกว่ารูปแบบยา ดั้งเดิมคือง่ายต่อการบริหารยา บทความนี้กล่าวถึงภาพรวมของรูปแบบเภสัช ภัณฑ์แตกตัวในช่องปากในแง่ของวิวัฒนาการและเทคโนโลยีในการผลิต ได้แก่ ยา เม็ด แผ่นฟิล์ม ยาเม็ดขนาดเล็ก และแคปซูล คำสำคัญ: เภสัชภัณฑ์แตกตัวในช่องปาก, ยาเม็ด, แผ่นฟิล์ม, ยาเม็ดขนาดเล็ก, แคปซูล Abstract Oral administration is the most popular route, according to its convenience to the patient. Solid dosage forms, although widely accepted by adults and adolescent, they cause problems in younger children, elder and patients with difficulty swallowing, leading to poor patient compliance and less drug effectiveness. Therefore, pharmaceutical researchers have led to the development of oral disintegrating dosage forms. The novel technology of oral disintegrating dosage forms is known as dosage forms rapidly disintegrated in saliva or buccal cavity. This feature of dosage forms shows a major benefit over the conventional dosage forms due to the easier administration. In this article, oral disintegrating dosage forms are summarized in terms of the production technologies such as tablet, film, mini-tablet and capsule. Keywords: oral disintegrating dosage forms, tablet, film, mini-tablet, capsuleDownloads
Download data is not yet available.
Downloads
Published
2013-04-01
Issue
Section
Review Article - นิพนธ์ปริทัศน์
License
ลิขสิทธิ์ (Copyright)
ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารนี้ถือเป็นสิทธิ์ของไทยเภสัชศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ การนำข้อความใด ๆ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดของต้นฉบับไปตีพิมพ์ใหม่จะต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าของต้นฉบับและวารสารก่อน
ความรับผิดชอบ (Responsibility)
ผลการวิจัยและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความเป็นความรับผิดชอบของผู้นิพนธ์ ทั้งนี้ไม่รวมความผิดพลาดอันเกิดจากเทคนิคการพิมพ์