ฤทธิ์ยับยั้งจุลชีพของนํ้าคั้นผลไม้ตระกูลส้ม Antimicrobial Activity of Citrus spp. Fruit Juices

Authors

  • ธาราธีร์ ศรีจันทร์
  • เยาวรักษ์ โพธิ์ร่ม
  • ธวัชชัย แพชมัด
  • Tharatree Srichan
  • Yaowaruk Phorom
  • Thawatchai Phaechamud

Abstract

บทคดั ย่อวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบฤทธิ์ยับยั้งจุลชีพของน้ำคั้นจากผลไม้ตระกูลส้มที่นิยมรับประทาน ซึ่งประกอบด้วย มะนาว (Citrus aurantifolia) ส้มซ่า(Citrus aurantium) มะกรูด (Citrus hystrix) ส้มจี๊ด (Citrus japonica) ส้มโอ(Citrus maxima) ส้มเขียวหวาน (Citrus reticulate) และส้มเช้ง (Citrussinensis) วิธีการศึกษา: ทำการทดสอบการยับยัง้ เชื้อจุลชีพที่เจริญเติบโตบนอาหารเลี้ยงเชื้อและสมบัติเคมีกายภาพ (ความหนืด ความเป็นกรดด่าง และปริมาณของแข็ง) ของน้ำคัน้ จากผลไม้ตระกูลส้มดังกล่าว รวมทัง้ ทำการหาปริมาณสารฟิโนลิกทัง้ หมดด้วย ผลการศึกษา: น้ำคัน้ จากมะนาว มะกรูด และส้มจี๊ด มีฤทธิส์ ูงสุดในการยับยัง้ เชื้อ Staphylococcus aureus ทัง้ นี้น้ำคัน้ จากส้มจี๊ดให้ผลที่น่าสนใจในการยับยัง้ เชื้อ Escherichia coli ได้สูงสุด แต่ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติเคมีกายภาพ และฤทธิย์ ับยั้งเชื้อโรค สรุป: น้ำคั้นจากผลส้มจี๊ดมีฤทธิต์ ้านเชื้อแบคทีเรียได้ดี อย่างไรก็ตามไม่พบฤทธิก์ ารยับยั้งเชื้อ Candidaalbicans จากน้ำคั้นของผลไม้ที่ศึกษาเหล่านี้ ข้อมูลจากการวิจัยนี้ให้แนวคิดสำหรับการสกัดสารยับยัง้ เชื้อจุลชีพจากน้ำคัน้ พืชตระกูลส้มต่อไปคำสำคัญ: พืชตระกูลส้ม น้ำคัน้ ผลส้ม ฤทธิต์ ้านแบคทีเรีย และฤทธิต์ ้านเชื้อราAbstractObjective: To determine the antimicrobial activity of some citrus juicesincluding Citrus aurantifolia, Citrus aurantium, Citrus hystrix, Citrus japonica,Citrus maxima, Citrus reticulata and Citrus sinensis. Method: The tests forantimicrobial activity using agar diffusion method and somephysicochemical properties (viscosity, pH and solid content) weredetermined for those mentioned citrus juices. Total phenolic compound ofcitrus juice was also analyzed. Results: The juice of C. aurantifolia, C.hystrix and C. japonica exhibited the high activity against Staphylococcusaureus. Interestingly, C. japonica juice presented the greatest activity toinhibit Escherichia coli growth. However there was no correlation betweenthe physicochemical properties and the antibacterial activity. Conclusion:The C. japonica juice contained the most potential for antibacterial activity.However, antifungal activity against Candida albicans had not beenobserved. This information would provide an idea for further study toextract the antimicrobial agents from the citrus juices.Keywords: Citrus spp., citrus juice, antibacterial and antifungal

Downloads

Download data is not yet available.

Downloads