Effects of Potential Development in Health Promotion Leadership on Nursing Students’ Knowledge, Attitude, and Practice of Health Promotion- ผลของการพ้ฒนาศักยภาพการเป็นผู้นำสร้างเสริมสุขภาพที่มีต่อระด้บความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมสร้างเสริม สุขภาพของนักศึกษาพยาบาล

Authors

  • Uayart Chuchuen
  • Pimol Wanwilai
  • Staporn Klangkarn
  • Passakorn Netthipwal
  • เอื้อญาติ ชูชื่น
  • พิมล พันธุ์วิไล
  • สถาพร กลางคาร
  • ภาสกร เนตรทิพย์วัลย์

Abstract

Objective: To examine effects of potential development emerging during health promotion leadership training on nursing students’ knowledge, attitude and behavior in stress management, exercise and food consumption. Methods: In this quasi research, there were 60 nursing students from the 2nd and 3rd year of the Police Nursing College who volunteered to join the training. The students in each group worked as a team to create a health promotion program (1 program per team) for a nearby community. Levels of knowledge, attitude and bahavior in stress management, exercise and food consumption were measured using a selfadministration questionnaire before and after training. Data were analyzed using descriptive statistic such as mean and standard deviation, as well as dependent t-test. Results: After training, knowledge level in stress anagement, but not in exercise and food consumption, increased significantly from baseline (P < 0.05). Levels of attitude toward each aspect of health promotion after training were not different from their respective baselines. In terms of practice of the health promotion behavior, stressmanagement behavior level, but not exercise and food consumption, after training increased significantly from baseline (P < 0.05). Conclusion: Potential developing in the health promotion leadership program helps improves knowledge and bahavior in stress management, but not other aspects of health promotion behaviors. Nursing school should encourage the students to learn and practice from direct experience to be health promotion leaders.Keywords: potential development, health promotion, knowledge, attitude, practice, nursing student บทคัดย่อวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของการพัฒนาศักยภาพการเป็นผู้นำสร้างเสริมสุขภาพที่มีต่อระดับความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพด้านการจัดการความเครียด การออกกำลังกายและการบริโภคอาหารของนักศึกษาพยาบาล วิธีการศึกษา: การวิจัยกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาพยาบาลตำรวจชั้นปีที่ 2 และ 3 รวม 60 คน ที่ร่วมโครงการผู้นำ สร้างเสริมสุขภาพกิจกรรมในโครงการเพื่อพัฒนาศักยภาพการทำงานและได้ผลลัพธ์เป็นโครงการสร้างเสริมสุขภาพที่นำไปทดลองใช้ในชุมชน ดำเนินการวิจัยช่วงมีนาคม 2552 ถึงกรกฎาคม 2553 เก็บข้อมูลก่อนและหลังการทดลองโดยใช้แบบสอบถามแบบตอบด้วยตนเองวัดระดับความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพด้านการจัดการความเครียด ด้านการออกกำลังกายและด้านการบริโภคอาหารของนักศึกษาพยาบาล วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนาได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและ t-test dependent ผลการศึกษา: พบว่าหลังเข้าโครงการนักศึกษาพยาบาลมีคะแนนความรู้ด้านการจัดการความเครียดเพิ่มขึ้นจากก่อนเข้าโครงการอย่างมีนัยสำคัญ (P < 0.05) แต่ไม่พบความแตกต่างของความรู้ด้านการออกกำลังกายและการบริโภคอาหาร ส่วนทัศนคติทัง้ สามด้านทัง้ ก่อนและหลังเข้าโครงการไม่แตกต่างกัน ส่วนพฤติกรรมด้านการจัดการความเครียดพบว่าหลังเข้าโครงการมีคะแนนเพิ่มขึ้นจากก่อนเข้าโครงการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่ไม่พบความแตกต่างของพฤติกรรมด้านอื่น ๆ สรุป: การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการเป็นผู้นำสร้างเสริมสุขภาพทำให้ระดับความรู้ และพฤติกรรมสุขภาพในการจัดการความเครียดเพิ่มขึ้นจากก่อนเข้าโครงการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนระดับความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมด้านอื่นไม่แตกต่างกันสถานศึกษาพยาบาลควรส่งเสริมให้นักศึกษาได้เรียนรู้และปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพจากประสบการณ์ตรงคำสำคัญ: การพัฒนาศักยภาพ, การส่งเสริมสุขภาพ, ความรู้, ทัศนคติ,พฤติกรรม, นักศึกษาพยาบาล

Downloads

Download data is not yet available.

Downloads

Published

2012-07-01