Development of Knowledge Management Website for Drug Information Pharmacists- การพัฒนาเว็บไซดก์ารจัดการความรู้สำหรับเภสัชกรที่ให้บริการเภสชัสนเทศ

Authors

  • Pongsak Kooprasertying
  • Wanchai Treyaprasert
  • พงษ์ศักดิ์ คูประเสริฐยิ่ง
  • วันชัย ตรียะประเสริฐ

Abstract

AbstractObjective: To develop knowledge management website for pharmacistsproviding drug information service. Methods: Website was developed usingMoodle program. Subjects were pharmacists responsible for trainingpharmacy students of Chulalongkorn university. After website development,test and evaluation were carried out. Results: The developed website had4 tools to knowledge-manage tacit knowledge (chat room, bulletin board,blog and web forum) 3 tools to manage explicit knowledge (web forum,glossaries and information source). Results from a 6-month test showedthat 59 pharmacists participated with access averages of 14.85  5.59users per week and 29.70  10.73 times per week. Web forum was themost frequently accessed tool. The evaluation showed 70% of usersconsidered the website as a reference source, 65% as an experiencesharing place and more than 90% as a site with interesting, readable, wellmanagedcontent. They also recommended improvement in tools, content,design and site management). Conclusion: The study results in a websitefor drug information service with tools appropriate for knowledgemanagement both tacit and explicit knowledge.Key words: drug information service, knowledge management,website บทคัดย่อวัตถุประสงค์: เพื่อพัฒนาเว็บไซต์การจัดการความรู้ของเภสัชกรที่ให้บริการเภสัชสนเทศ วิธีการศึกษา: โดยนำโปรแกรม Moodle มาพัฒนาเว็บไซต์ กลุ่มตัวอย่างที่เข้าร่วมการศึกษาคือ เภสัชกรของแหล่งฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านโรงพยาบาลที่ปฏิบัติงานด้านเภสัชสนเทศ ของคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยขัน้ ตอนการศึกษาประกอบด้วย การพัฒนาเว็บไซต์ การทดสอบการใช้งาน และการประเมินผล ผลการศึกษา: จากเว็บไซต์ชุมชนเภสัชสนเทศที่สร้างสามารถใช้จัดการความรู้ โดยมีเครื่องมือที่ใช้ในการจัดการความรู้โดยนัยจำนวน 4 เครื่องมือ(ห้องสนทนา กระดานทำรายงานแบบกลุ่ม บล็อก และ กระดานเสวนา) และเครื่องมือที่จัดการความรู้ที่ชัดแจ้งมี 3 เครื่องมือ (กระดานเสวนา อภิธานศัพท์และแหล่งข้อมูล) ผลการทดสอบการใช้งานเป็นเวลา 6 เดือนพบว่า มีผู้เข้าร่วมทดสอบจำนวน 59 คน ผู้เข้าใช้เฉลี่ย 14.85  5.59 คนต่อสัปดาห์ โดยมีจำนวนครัง้ ที่เข้าใช้งานเฉลี่ยเท่ากับ 29.70  10.73 ครัง้ ต่อสัปดาห์ กระดานเสวนาเป็นเครื่องมือที่มีผู้เข้าใช้มากที่สุด ผลการประเมินเว็บไซต์พบว่าผู้เข้าใช้ร้อยละ 70 เห็นว่าเป็นแหล่งอ้างอิงด้านข้อมูลได้ มีประโยชน์แลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างกัน (ร้อยละ 65) และเนื้อหาน่าสนใจ อ่านเข้าใจง่าย มีการจัดหมวดหมู่ภายในเว็บไซต์เหมาะสม (มากกว่าร้อยละ 90) ผู้ใช้เสนอให้ปรับปรุงรูปแบบเว็บไซต์ในด้านเครื่องมือ เนื้อหา การออกแบบ และการบริหารจัดการเว็บไซต์สรุป: การศึกษานี้ได้รูปแบบของเว็บไซต์ชุมชนเภสัชสนเทศที่สามารถใช้จัดการความรู้โดยมีทัง้ เครื่องมือที่ใช้จัดการความรู้โดยนัย และความรู้ที่ชัดแจ้งคำสำคัญ: งานบริการเภสัชสนเทศ, การจัดการความรู้, เว็บไซต์

Downloads

Download data is not yet available.

Downloads

Published

2012-01-01