การพัฒนากิจกรรม 12 BML เพื่อเสริมสร้างความจำใช้งานในวิชาภาษาอังกฤษสำหรับเด็กปฐมวัย

DEVELOPMENT OF 12 BML ACTIVITIES TO ENHANCE WORKING MEMORY IN ENGLISH SUBJECT FOR YOUNG CHILDREN

Authors

  • ณิชารีย์ สิมันตาสมิทธ์ สาขาวิชาสมอง จิตใจ และการเรียนรู้ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • วรากร ทรัพย์วิระปกรณ์ สาขาวิชาสมอง จิตใจ และการเรียนรู้ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • ศศินันท์ ศิริธาดากุลพัฒน์ สาขาวิชาสมอง จิตใจ และการเรียนรู้ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

Keywords:

ความจำใช้งาน , กิจกรรมเสริมสร้างความจำใช้งาน , วิชาภาษาอังกฤษ

Abstract

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของกิจกรรมเสริมสร้างความจำใช้งานในวิชาภาษาอังกฤษสำหรับเด็กปฐมวัย กลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กนักเรียนที่กําลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นอนุบาลศึกษาปีที่ 3 ที่ไม่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้และได้รับความยินยอมจากผู้ปกครอง จำนวน 42 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม จำนวน 2 ห้องเรียน ห้องเรียนห้องที่ 1 เป็นกลุ่มทดลองที่ได้รับกิจกรรมเสริมสร้างความจำใช้งานในวิชาภาษาอังกฤษสำหรับเด็กปฐมวัย จำนวน 8 ครั้ง มีนักเรียนจำนวน 22 คน และห้องที่ 2 เป็นกลุ่มควบคุมได้รับการเรียนการสอนของโรงเรียนตามปกติ มีนักเรียนจำนวน 20 คน วัดความจำใช้งานด้วยแบบทดสอบ Corsi Block-Tapping Task (Corsi, 1972) โดยวัดทั้งหมด 3 ระยะ คือ ก่อนทดลอง หลังทดลองทันที และระยะติดตามผลหลังทดลอง 2 สัปดาห์ วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำประเภทหนึ่งตัวแปรระหว่างกลุ่มและหนึ่งตัวแปรภายในกลุ่มและเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีแบบ Bonferroni Method ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความจำใช้งานหลังการทดลองและระยะติดตามผลสูงขึ้นกว่าก่อนการทดลอง และสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05

References

จินตนา ธรรมวานิช. (2560, 20 กันยายน). วิกฤตประถมวัย กระทบอนาคตชาติ. สืบค้นจาก https://www.matichon.co.th/uncategorized/news_685374.

จุฑามาศ แหนจอน. (2562). จิตวิทยาการรู้คิด (Cognitive psychology). กรุงเทพฯ: แกรนด์พอยท์.

ชุติมา งามพิพัฒน์. (2562, พฤศจิกายน-ธันวาคม). การศึกษาและออกแบบสื่อการเรียนรู้เพื่อเสริมทักษะ ทางด้านภาษาอังกฤษสำหรับเด็กปฐมวัย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี, 8(1),134-143.

ธีราลักษณ์ เนตรนิลวีรโชติ, จุฑามาศ แหนจอน และวรากร ทรัพย์วิระปกรณ์. (2561). ผลของโปรแกรมการเล่านิทาน ประกอบภาพโดยใช้พระบรม ราโชวาทในหลวงรัชกาลที่ 9 ต่อหน้าที่บริหารจัดการของ สมองในเด็กปฐมวัย. Journal of Educational Measurement Mahasarakham University, 24(2), 62-79.

นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล. (2558). Executive functions กับความพร้อมทางการเรียนในเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา.

พรพิมล บัวผดุง. (2556). ผลของการใช้คำคล้องจองภาษาไทยประกอบคำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีต่อการเรียนรู้คำศัพท์ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 โรงเรียนบ้านทุ่งสีเสียด อำเภอบางสะพานน้อย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ประจวบคีรีขันธ์ เขต 1. Veridian E-Journal, Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and Arts), 6(2), 655-664.

เยาวพา เดชะคุปต์. (2542). การศึกษาปฐมวัย. กรุงเทพฯ: แม็ค.

รมณี พนัสขาว. (2558). การจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษด้วยเทคนิคการสอนแบบเรียนปนเล่น เพื่อส่งเสริมความสามารถ การฟังและพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก.

วรสิทธิ์ ศิริพรพาณิชย์ และ นัยพินิจ คชภักดี. (2561). ตำราพัฒนาการและพฤติกรรมเด็ก. กรุงเทพฯ: ชมรมพัฒนาการ และพฤติกรรมเด็กแห่งประเทศไทย.

สายสุรี จุติกุล. (2560, 20 กันยายน). วิกฤตประถมวัย กระทบอนาคตชาติ. สืบค้นจาก https://www.matichon.co.th/uncategorized/news_685374.

สุภาพร ทองสาดี. (2561). การพัฒนาชุดกิจกรรมการจัดประสบการณ์เพื่อส่งเสริมการคิดเชิงบริหารด้านการยับยั้งควบคุมตนเองและด้านความจำขณะทางานของเด็กปฐมวัยที่มีภาวะเสี่ยงสมาธิสั้น (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต).มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.

อัครภูมิ จารุภากร. (2550). สมองเรียนรู้. กรุงเทพฯ: สถาบันวิทยาการเรียนรู้.

อารี สัณหฉวี. (2535). การวัดและประเมินพัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัย. นนทบุรี: สำนักพิมพ์ใมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อารีย์ หาญสมศักดิ์กุล, ปิยะทิพย์ ประดุจพรม, & พีร วงศ์อุปราช. (2021). การเพิ่มความจำขณะคิดสำหรับเด็กปฐมวัย ที่ เสี่ยงต่อภาวะความบกพร่องทางคณิตศาสตร์ด้วยโปรแกรมส่งเสริมพัฒนาการทางตัวเลขร่วมกับปัญญา สมาน กาย. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 15(2), 50-65.

Alloway, T. P., & Alloway, R. G. (2014). The working memory advantage: Train your brain to function stronger, smarter, faster. NY: Simon and Schuster.

Baddeley, A. D., & Hitch, G. J. (2000, October). Development of working memory: Should the pascual-peone and the Baddeley and hitch models be merged?. Journal of experimental child psychology, 77(2), 128-137.

Berch, D. B., Krikorian, R., & Huha, E. M. (1998, December). The Corsi block-tapping task: Methodological and theoretical considerations. Brain and Cognition, 38(3), 317-338.

Caine, R. N., Caine, G., McClintic, C., & Klimek, K. J. (2009). 12 Brain/Mind Learning Principles in Action: Developing Executive Functions of the Human Brain. California: Corwin Press.

Claessen, M. H., Van Der Ham, I. J., & Van Zandvoort, M. J. (2015, September). Computerization of the standard Corsi block-tapping task affects its underlying cognitive concepts: A pilot study. Applied Neuropsychology: Adult, 22(3), 180-188.

Corsi, P. M. (1972). Human memory and the medial temporal region of the brain. McGill: University Canada.

Gade, M., Zoelch, C., & Seitz-Stein, K. (2017). Training of visual-spatial working memory in preschool children. Advances in cognitive Psychology, 13(2), 177-187.

Jensen. (2000). Brain-based learning: A reality check. Educational Leadership, 57(7), 76-80.

Mueller, S.T., & Piper, B. J. (2014, November). The psychology experiment building language (PEBL) and PEBL test battery. Journal of Neuroscience Methods, 222, 250-259.

Samme, G. (1999, September). Working memory load and EEG-dynamics as revealed by point correlation dimension analysis. International Journal of Psychophysiology, 34(1), 89-102.

Downloads

Published

2024-01-03

How to Cite

สิมันตาสมิทธ์ ณ., ทรัพย์วิระปกรณ์ ว. ., & ศิริธาดากุลพัฒน์ ศ. (2024). การพัฒนากิจกรรม 12 BML เพื่อเสริมสร้างความจำใช้งานในวิชาภาษาอังกฤษสำหรับเด็กปฐมวัย: DEVELOPMENT OF 12 BML ACTIVITIES TO ENHANCE WORKING MEMORY IN ENGLISH SUBJECT FOR YOUNG CHILDREN. วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 18(2), 183–195. Retrieved from https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jre/article/view/15669

Most read articles by the same author(s)