การประเมินกรอบสมรรถนะครูเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ซี-ทีซีเอฟ) ASSESSMENT SOUTHEAST ASIA TEACHERS COMPETENCY FRAMEWORK (SEA-TCF) THAILAND

Main Article Content

ธีรศักดิ์ อุปไมยอธิชัย
พิทยา แสงสว่าง
น้ำทิพย์ องอาจวาณิชย์

Abstract

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินกรอบสมรรถนะครูเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ซี-ทีซีเอฟ) ของสำนักงานเลขาธิการคุรุสภา 2) เสนอนโยบายการพัฒนากรอบสมรรถนะครูเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ซี-ทีซีเอฟ) ภายใต้บริบทประเทศไทย ประชากร ได้แก่ ข้าราชการครู สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 325 คน และผู้ให้ข้อมูลจากผู้ทรงคุณวุฒิได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง จำนวน 7 คน เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถามประมาณค่า 5 ระดับ ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับ มีค่าเท่ากับ 0.97  และแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการประเมินกรอบสมรรถนะครูเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ซี-ทีซีเอฟ) โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (X=4.21) เมื่อพิจาราณารายด้านพบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านให้ชุมชนมีส่วนร่วม (X=4.45) รองลงมาคือ ด้านเป็นครูที่ดีขึ้นในทุกๆ วัน  (X=4.39)  ด้านช่วยให้นักเรียนของฉันได้เรียนรู้ (X=4.16)  และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านรู้และเข้าใจในสิ่งที่ตนเองสอน (X=4.06) 2) ผลการเสนอนโยบายการพัฒนากรอบสมรรถนะครูเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ซี-ทีซีเอฟ) ภายใต้บริบทประเทศไทย ประกอบด้วย 4 นโยบาย 7 ประเด็นย่อย

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
อุปไมยอธิชัย ธ. ., แสงสว่าง พ. ., & องอาจวาณิชย์ น. . (2024). การประเมินกรอบสมรรถนะครูเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ซี-ทีซีเอฟ): ASSESSMENT SOUTHEAST ASIA TEACHERS COMPETENCY FRAMEWORK (SEA-TCF) THAILAND. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ ศรีนครินทรวิโรฒ, 25(1), 189–202. Retrieved from https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jedu/article/view/16006
Section
บทความวิจัย (Research Articles)

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2566). ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.

จินดา ลาโพธิ์. (2563). พฤติกรรมการสอนของครูกับการเรียนรู้ของผู้เรียน. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์. 7(5), 34-45.

ฐาปนา จ้อยเจริญ; และ เมษา นวลศรี. (2559). การวิเคราะห์สมรรถนะของครูไทยตามกรอบสมรรถนะของครูแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในศตวรรษที่ 21 : กรณีศึกษาเขตพื้นที่ภาคกลาง.วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. 10(1), 142-154.

ณัฐกานต์ เรือนคำ; และกิตติชัย สุธาสิโนบล. (2565). การเสริมสร้างสมรรถนะครูไทยกับการศึกษาไทย 4.0 วารสารศิลปศาสตร์ราชมงคลสุวรรณภูมิ. 4(1), 128-142.

นงลักษณ์ มโนวลัยเลา; วีรภัทร์สุขศิริ; สุทธิศานติ์ชุ่มวิจารณ์; จอมทัพ ขวัญราช; ธนนันท์ ธนารัชตะภูมิ; ภัทรพร แจ่มใส; อรพรรณ บุตรกตัญญู; ศศิเทพ ปิติพรเทพิน; ฉัตรศิริ ปิยะพิมลสิทธิ์; และพร้อมพิไล บัวสุวรรณ. (2565). การพัฒนาสมรรถนะและองค์ความรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพครู สำหรับผู้ประกอบ วิชาชีพครู ในยุคศตวรรษที่ 21. สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา.

พรศักดิ์ สุจริตรักษ์; และชนิตา พิลาไชย. (2564). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูรองรับการศึกษายุค 4.0.วารสารการบริหารการศึกษาและภาวะผู้นำ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 10(37), 296-303.

วิชา พรหมโชติ; ญาณิศา บุญจิตร์; และโสภณ เพ็ชรพวง. (2564). การพัฒนาสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียน สังกัดเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี. วารสารรัชต์ภาคย์, 13(41), 326 - 341.

ศุภศิริ บุญประเวศ. (2565). พลังการสื่อสารของครู. ในที่ระลึกวันครู ครั้งที่ 66 พ.ศ. 2565 “พลังครูยุคใหม่ สร้างคุณภาพคนไทยสู่สากล” กรุงเทพฯ: บริษัท ออนป้า จำกัด.

สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2565). แผนปฏิบัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570) ของสำนักงานปลัดกระทรวง. กรุงเทพฯ : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560–2579.กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2565). การประเมินระบบการผลิตครูในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: บริษัท 21 เซ็นจูรี่ จำกัด.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2566). 10 ทักษะที่ดีที่สุดของครู. กรุงเทพฯ : สำนักวิจัยและพัฒนาการศึกษา.

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. (2566). การประเมินผลสมรรถนะและการพัฒนาคุณครูในประเทศเกาหลีใต้. รายงานการประชุมนานาชาติว่าด้วยการพัฒนาวิชาชีพครู OTEPC International Forum on Teaching Profession Developmemt 2023. https://otepc.go.th/th/

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2566). แนวทางการจัดการเรียนรู้อย่างมีความหมายและมีคุณค่าสำหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: สำนักงานมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู้สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

Alkin, C.R. (1973). Evaluation Theory Development. In Evaluation Action Program: Readings in Social Actionand Education. Allyn and Bacon.

Kansanen, P. (2003). Teacher Education in Finland: Current Models and New Developments. Institutional Approaches to Teacher Education within Higher Education in Europe: Current Modelsand New Developments, 85-108.

Stake, R. E. (1967). The Countenance of Educational Evaluation. Teacher College Record, 68, 523–540.

Stake, R. E..(2004). Standards–based & Responsive Evaluation. Sage Publication.