The In Vitro Effect of Royal Jelly, Apis mellifera, on Proliferation of Human Gingival,Periodontal Ligament Fibroblasts and Human Bone Cells

Authors

  • Nirada Dhanesuan
  • Duangporn Srisuparbh
  • Siriluck Tiranathanagul
  • Sorasun Rungsiyanont
  • นิรดา ธเนศวร
  • ดวงพร ศรีสุภาพ
  • สิริลักษณ์ ตีรณธนากุล
  • สรสัณห์ รังสิยานนท์

Abstract

AbstractObjective: To study the in vitro effect of royal jelly crude extraction (RJCE)on proliferation and osteoblastic activity in 3 cell types which were human gingival fibroblasts (HGF), human periodontal ligament fibroblasts (HPDL) and human hip bone cells (HIP). Method: This study used 24-hour (3-(4,5-dimethylthiazol-2-yl)-2,5-diphenyltetrazolium bromide (MTT) cytotoxic assay, sulforhodamin B (SRB) proliferation assay and alkaline phosphatase activity (ALP) assay to evaluate the responses of these three cell types to the RJCE (concentrations of 0.1, 0.5, 1, 5 and 10 mg/ml) after 14-dayculture. Results: It was found that RJCE was cytotoxic to HGF and HPDL at 10 mg/ml, but no cytotoxicity to HIP. From a 6-day-proliferation assay, RJCE showed proliferation inhibition to HGF and HPDL at 5 mg/ml, however, slight proliferation stimulation was observed with lower doses. On the contrary, HIP showed no proliferation response to RJCE for all dosages used up to 5 mg/ml. Stimulation on alkaline phosphatase (ALP) activity for HPDL and HIP with or without RJCE after 14-day culture was found only in HIP at 5 mg/ml RJCE, and not in HPDL. Conclusion: this present study showed different effect of RJCE on the 3 cell lines proliferation. The positive effect on bone cell proliferation and ALP activity  looks promising for bone regeneration as needed for periodontal disease as well as other bone pathology.Keywords: royal jelly, human gingival fibroblasts, human periodontal ligament fibroblasts, human hip bone cells, cytotoxicity บทคัดย่อวัตถุประสงค์: เพื่อทดสอบสารสกัดจากนมผึ้งต่อการเพิ่มจำนวนเซลล์และผลต่อการสร้างเซลล์กระดูกในเซลล์ 3 ชนิด คือ เซลล์ไฟโบรบลาสต์จากเนื้อเยื่อเหงือกมนุษย์ (HGF) จากเอ็นยึดปริทันต์ (HPDL) และเซลล์กระดูกสะโพกมนุษย์ (HIP)วิธีการศึกษา: ทดสอบผลของสารสกัดนมผึ้ง (ความเข้มข้น 0.1, 0.5, 1, 5 และ10 มก./มล.) ต่อการมีชีวิตของเซลล์ด้วยวิธี (3-(4,5 ไดเม็ทธิลไทอะซอล-2-อิล)-2,5-ไดเฟนิลเตตระโซเลียมโบรไมด์ (MTT) ศึกษาการเพิ่มจำนวนเซลล์ในช่วง 6วันด้วยวิธีซัลโฟโรดามินบี (SRB) และวัดระดับการทำงานของสารอัลคาไลน์ฟอสฟาเตส (ALP) เพื่อวัดการตอบสนองของเซลล์ทัง้ 3 ชนิดต่อสารสกัดจากนมผึ้งโดยการเพาะเลี้ยงเป็นเวลา 14 วัน ผลการศึกษา: สารสกัดนมผึ้งเข้มข้น 10 มก./มล.เป็นพิษต่อ HGF และ HPDL แต่ไม่พบฤทธิด์ ังกล่าวต่อ HIP สารสกัดนมผึ้งยับยัง้การเพิ่มจำนวนเซลล์ HGF และ HPDL ที่ 5 มก./มล. โดยที่ความเข้มข้นต่ำกว่านี้กระตุ้นการเพิ่มจำนวนเซลล์ดังกล่าวได้เล็กน้อย ในทางกลับกันพบว่าสารสกัดนมผึ้งทุกความเข้มข้นไม่เพิ่มจำนวนเซลล์ HIP ในเซลล์ HPDLและ HIP ที่เติมและไม่เติมสารสกัดนมผึ้งพบการว่าการทำงานของอัลคาไลน์ฟอสฟาเตสถูกกระตุ้นในHIP ที่ความเข้มข้นของสารสกัดนมผึ้ง 5 มก./มล. โดยไม่มีผลต่อ HPDL สรุป:พบผลของสารสกัดจากนมผึ้งที่แตกต่างกันในด้านการกระตุ้นการเพิ่มจำนวนในเซลล์ 3 ชนิด โดยพบทิศทางที่ดีของสารสกัดจากนมผึ้งที่ให้ผลบวกต่อการเพิ่มจำนวนและการเพิ่มการทำงานของสารอัลคาไลน์ฟอสฟาเตสในเซลล์กระดูก ซึ่งส่งผลดีสำหรับความต้องการกระตุ้นให้สร้างกระดูกในการรักษาโรคปริทันต์อักเสบหรือโรคอื่น ๆ ที่พบการทำลายกระดูกคำสำคัญ: สารสกัดจากนมผึ้ง, เซลล์ไฟโบรบลาสต์จากเนื้อเยื่อเหงือกมนุษย์,เซลล์ไฟโบรบลาสต์จากเอ็นยึดปริทันต์, เซลล์กระดูกมนุษย์, ความเป็นพิษต่อเซลล์

Downloads

Download data is not yet available.

Downloads

Published

2011-07-01