ทักษะในศตวรรษที่ 21 กับการจัดการศึกษาภาษาต่างประเทศ: จากนโยบายถึงผู้สอน

Main Article Content

อัญชลี จันทร์เสม
วาสนา นามพงศ์
สมบุญ ปิยะสินธ์ชาติ
อภิณห์พร ฤกษ์อนันต์
ศุภชัย จังศิริวิทยากร
เหงียน ถิ เจียม
เฉิ่น ถิ บิ๊ก ถาว

Abstract

บทคัดย่อบทความนี้นำเสนอข้อสรุปเกี่ยวกับทักษะในศตวรรษที่ 21 บทวิเคราะห์เบื้องหลังแนวคิด บทบาทของทักษะดังกล่าวที่เกี่ยวข้องกับนโยบายทิศทางการจัดการศึกษาด้านภาษาต่างประเทศที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีทักษะภาษาต่างประเทศที่สังคมต้องการซึ่งส่งผลต่อการจัดการเรียนการสอนภาษาในปัจจุบัน การกำหนดเกณฑ์มาตรฐานด้านภาษาต่างประเทศที่สะท้อนทักษะดังกล่าวรวมทั้งการให้ความสำคัญกับฐานความรู้ของครูผู้สอนภาษาต่างประเทศ เพื่อการจัดการและขับเคลื่อนการศึกษาด้านภาษาต่างประเทศให้มีประสิทธิภาพ AbstractThis article presents the synopsis of the 21st century skills proposed by the Partnershipfor 21st Century Learning, a brief analysis of the underlying principles, and impacts on foreignlanguage teaching and learning policies aimed at equipping learners with expected languageskills. All identified skills have affected current language education including the identificationof standards and criteria that reflect language competence. The last part in this article highlightsthe importance of language teachers’ knowledge base that leads to effective language education.

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
จันทร์เสม อ., นามพงศ์ ว., ปิยะสินธ์ชาติ ส., ฤกษ์อนันต์ อ., จังศิริวิทยากร ศ., ถิ เจียม เ., & ถิ บิ๊ก ถาว เ. (2017). ทักษะในศตวรรษที่ 21 กับการจัดการศึกษาภาษาต่างประเทศ: จากนโยบายถึงผู้สอน. บรรณศาสตร์ มศว, 9(2), 114–123. Retrieved from https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jlis/article/view/8398
Section
Research Articles