การพัฒนาข้อเสนอแนะการออกใบอนุญาตขายยาออนไลน์ เป็นกฎระเบียบของสํา นักงานคณะกรรมการอาหารและ ยาเพื่อรองรับการตลาดดิจิทัล

The Development of Licensing Recommendation on Online Pharmacies as FDA Regulation for Supporting the Digital Market

Authors

  • อโณทัย งามวิชัยกิจ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
  • วราวุธ เสริมสินสิริ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
  • ทรงศักดิ์ วิมลกิตติพงศ์ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
  • กฤษณะ หลักคงคา สถาบันการจัดการปัญญาภิวัตน์

Keywords:

ขายยาออนไลน์, ผลิตภัณฑ์สมุนไพร , สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

Abstract

            บทความนี้มุ่งนำเสนอการศึกษารูปแบบกลไกและการควบคุมกำกับของรัฐเกี่ยวกับการขายยาออนไลน์ เพื่อพัฒนาข้อเสนอแนะการออกใบอนุญาตเกี่ยวกับร้านขายยาออนไลน์ โดยใช้การสืบค้นและทบทวนข้อมูลอย่างเป็นระบบจากงานวิจัยและเอกสารวิชาการที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปพัฒนากฎระเบียบของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาให้รองรับการเติบโตของการตลาดดิจิทัล นอกจากนี้ผลการวิจัยที่ได้ยังสามารถนำไปพัฒนาการกำกับดูแลของรัฐต่อการตลาดดิจิทัลผลิตภัณฑ์สมุนไพร ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ฐานรากของประเทศไทยต่อไปได้ ผลการวิเคราะห์วรรณกรรมอย่างเป็นระบบจากที่ผ่านเกณฑ์ 13 บทความพบรูปแบบกลไกการควบคุมกำกับของรัฐเกี่ยวกับการขายยาออนไลน์ ทั้งด้านกฎหมายการขายยาออนไลน์ กลไกการควบคุมนอกเหนือจากกฎหมาย และปัญหาที่พบในการขายยาออนไลน์ จึงนำไปสู่การพัฒนาข้อเสนอแนะการออกใบอนุญาตขายยาออนไลน์ที่ระบุเงื่อนไขการเปิดขายยาออนไลน์ ผลการวิจัยสามารถนำไปร่างกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการขายยาออนไลน์ และยังนำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนากฎระเบียบเพื่อควบคุมกำกับการขายผลิตภัณฑ์สมุนไพรออนไลน์ในประเทศไทยต่อไป

References

Alwon, B. M., Solomon, G., Hussain, F., & Wright, D. J. (2015). A detailed analysis of online pharmacy characteristics to inform safe usage by patients. International Journal of Clinical Pharmacy. 37(1), 148-158.

Chaturvedi, A. K., Singh, U. K., & Kumar, A. (2011). Online pharmacy: an e-strategy for medication. International Journal of Pharmaceutical Frontier Research. 1(1), 146-58.

Deepika, R. S., Singh, T. G., Singh, M., Saini, B., Kaur, R., Arora, S., & Singh, R. (2020). Status of e-pharmacies in India, a review. Plant Archives. 20(1), 3763-3767.

Gabay, M. (2015). Regulation of internet pharmacies: a continuing challenge. Hospital Pharmacy. 50(8), 681.

Gray, N. (2011). The evolution of online pharmacies. Self Care Journal. 2, 76-86.

Kumaran, H., Long, C. S., Bakrin, F. S., Tan, C. S., Goh, K. W., Al-Worafi, Y. M., ... & Ming, L. C. (2020). Online pharmacies: desirable characteristics and regulations. Drugs & Therapy Perspectives. 36(6), 243-245.

Mackey, T. K., & Nayyar, G. (2016). Digital danger: a review of the global public health, patient safety and cybersecurity threats posed by illicit online pharmacies. British Medical Bulletin. 118(1): 110-126.

Patel, J., & Tierney, J. (2005). The regulation of online pharmacies; The need for a combined federal and state effort. Retrieved from https://web.law.columbia.edu/sites/default/files/microsites/career-services/The%20Regulation%20of%20Online%20Pharmacies.pdf

Singh, R. (2019). Should e-pharmacy be made illegal in India?. Journal of Management and Commerce. 5(1), 18-22.

Schultz, B. (2015). online pharmacy regulation: how the Ryan haight online pharmacy consumer protection act can help solve an international problem. San Diego international law journal. 16: 381.

United Nations. Department of Economic and Social Affairs. Population Division. (2019). World population ageing 2019: highlights [Online]. Retrieved from https://www.un.org/en/development/desa/population/publications/pdf/ageing/WorldPopulationAgeing2019-Highlights.pdf

van der Heijden, I., Pletneva, N., & Boyer, C. (2013). How to protect consumers against the risks posed by the online pharmacy market. Swiss Medical Informatics. 29, 1-5.

Marketeer Online. (2563, 23 เมษายน) . ไวรัสCOVID-19 ทำ ธุรกิจออนไลน์ไทยโตพุ่ง 79%. สืบค้นจาก https://marketeeronline.co/archives/160564

ฐานเศรษฐกิจดิจิทัล. (2565, 24 มกราคม). 5 ความเสี่ยง ซื้อยาออนไลน์! กินเอง อันตรายกว่าที่คิด. สืบค้นจาก https://www.thansettakij.com/general-news/511405

ฐานเศรษฐกิจดิจิทัล. (2565, 24 มีนาคม). อย. บุกยึด 61 ยาสมุนไพรเถื่อน ผสมสเตียรอยด์สุดอันตราย!. สืบค้นจาก https://www.thansettakij.com/general-news/518617

ประกาย หมายมั่น. (2562). การสำรวจการขายยาผ่านเว็บไซต์ขายสินค้าซึ่งเป็นที่นิยมในประเทศไทย. วารสารเภสัชกรรมไทย. 11(2), 368-377.

พนิตนาฏ คำนุ้ย .(2563). การโฆษณาขายยาออนไลน์ที่ผิดกฎหมายและมาตรการดำเนินการ. วารสารอาหารและยา. 27(1), 41-52.

มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2563, 1 ตุลาคม) เผย สถิติผู้สูงอายุอยู่คนเดียวตามลำพังมากขึ้น. ในเวทีเสวนา นโยบายและการจัดการที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุในประเทศไทยวันที่ 8 กันยายน 2563. สืบค้นจาก https://thaitgri.org/?p=39256

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2564). จำนวนประชากรจากการทะเบียน จำแนกตามกลุ่มอายุ รายจังหวัด และภาค พ.ศ. 2553 - 2562. สืบค้นจาก http://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/01.aspx

Downloads

Published

2023-02-17