แนวทางในการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์
Guidelines for History Instruction
Keywords:
การเรียนการสอนประวัติศาสตร์Abstract
วิชาประวัติศาสตร์เป็นวิชาหนึ่งในกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมซึ่งมีเป้าหมาย ที่สำคัญคือการเสริมสร้างความเป็นพลเมืองในมิติต่าง ๆ โดยแนวทางการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ สามารถจำแนกออกได้เป็น 3 วิธี ซึ่งแต่ละวิธีต่างมีวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกัน กล่าวคือ (1) การเสริมสร้าง ความทรงจำส่วนรวม (enhancing collective memory) เป็นการส่งเสริมให้เป็นพลเมืองที่รู้รากเหง้า เห็นถึงความสำคัญของมรดกชาติ (2) การสอนระเบียบวิธี (disciplinary) เป็นการสอนให้เป็นพลเมือง ที่ได้รับการพัฒนาทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ และ (3) การสอนด้วยแนวคิดหลังสมัยใหม่ (postmodern) เป็นการสอนให้เป็นพลเมืองที่ตื่นรู้ สามารถตั้งคำถามและตรวจสอบที่มาของข้อมูล เรียนรู้ที่จะเห็นถึง ความจริงแตกต่างและการอยู่ร่วมกันในความแตกต่าง หากครูพิจารณาพัฒนาการของนักเรียนให้ สอดคล้องกับเป้าหมายของพลเมืองในแต่ละมิติจะทำ ให้ครูสามารถเลือกแนวทางการจัดการเรียนการ สอนที่เหมาะสมให้แก่นักเรียนได้References
ชัยรัตน์ โตศิลา. (2555). การพัฒนากระบวนการเรียนการสอนโดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดทางประวัติศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ ค.ด. (หลักสูตรและการสอน). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ถ่ายเอกสาร.
ทิศนา แขมมณี และคณะ. (2544). วิทยาการด้านการคิด. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ.
พรกมล จันทรีย์. (2544). ปัญหาการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ไทย ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดกรมสามัญศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคําาแหง. ถ่ายเอกสาร.
วินัย พงศ์ศรีเพียร. (2552). อาจารยบูชา. กรุงเทพฯ: ศักดิ์โสภาการพิมพ์.
วิลุบล สินธุมาลย์. (2554). การรับรู้ประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ไทย-ลาว : ผ่านแบบเรียนประวัติศาสตร์ไทยและลาวชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 (ค.ศ.1975-2009). วิทยานิพนธ์ อ.ม. (ประวัติศาสตร์ศึกษา).นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร. ถ่ายเอกสาร.
ศุภณัฐ พานา. (2560). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ตามแนวคิดกระบวนการสืบสอบแสวงหาความรู้เป็นกลุ่มร่วมกับแนวคิด Magic If เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดทางประวัติศาสตร์และการรับรู้ความรู้สึกทางประวัติศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย. วิทยานิพนธ์ ค.ด. (หลักสูตรและการสอน). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ถ่ายเอกสาร.
สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2558). แนวการสอนประวัติศาสตร์: ประวัติศาสตร์ไทย หลากหลายวิธีเรียน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สุเนตร ชุตินธรานนท์. (2554). พม่ารบไทย: ว่าด้วยการสงครามระหว่างไทยกับพม่า. พิมพ์ครั้งที่ 10.กรุงเทพฯ: มติชน.
สุเนตร ชุตินธรานนท์ และคณะ. (2557). ชาตินิยมในแบบเรียนไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: มติชน.
Assessment Resource Center for History. (2013). Historical Thinking Skills Scoring Rubric. Retrieved on October, 15, 2019, from http://www.umbc.edu/che/arch/rubric.php
Barton, K., & Levstik, L. (2004). Teaching History for the Common Good. Mahwah, NJ: Lawrence Erlbaum Associates.
Centre for the Study of Historical Consciousness. (2014). The Historical Thinking Project Promoting Critical Historical Literacy for 21st Century. Retrieved on October, 15, 2019, from http://historicalthinking.ca
Davison, M. (2012). “It is Really Hard Being in Their Shoes”: Developing Historical Empathy in Secondary School Students. Ed.D. Dissertation (Education). Aukland: The University of Auckland.
Photocopy.Endacott, J., & Brooks, S. (2013). An Updated Theoretical and Practical Model for Promoting Historical Empathy. Social Studies Research and Practice, 8(1): 41-58.
Lawenthal, David. (1998). Possessed by the Past: The Heritage Crusade and the Spoils of History. New york: Cambridge University Press.
Lemon, M. C. (2003). Philosophy of History: A Guide For Students. London: Routledge.
National Center for History in the Schools. (1996). The National Standards for History.Retrieved on October, 15, 2019, from http://www.sscnet.ucla.edu/nchs/standards
Seixas, P. (2000). Schweigen! Die kinder! Or, Does Postmodern History Have a Place in the Schools? In. P. N. Stearns, P. Seixas, & S. Wineburg (Eds.), Knowing, Teaching,and Learning History. (pp. 19-37). New York: New York University Press.
The College Board. (2012). AP World History. New York: The College Board.