Comfort Women: การเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิมนุษยชน และความสัมพันธ์ของญี่ปุ่นกับอินโดนีเซียและฟิลิปปินส์

Comfort Women: Human Rights Movement and Japan’s Relations with Indonesia and the Philippines

Authors

  • ศิริพร ดาบเพชร คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Keywords:

สิทธิมนุษยชน, หญิงบริการ, ฟิลิปปินส์, อินโดนีเซีย

Abstract

            บทความนี้ศึกษาเรื่องของ comfort women ในอินโดนีเซียและฟิลิปปินส์ ในประเด็นการจัดตั้งสถานีผ่อนคลาย การจัดเกณฑ์สตรี รวมถึงผลกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของญี่ปุ่นและมุมมองด้านสิทธิมนุษยชน โดยศึกษาผ่านเอกสารและข้อมูลประวัติศาสตร์บอกเล่า ผลการศึกษาพบว่า การที่เรื่องราวของ comfort women เงียบหายไปเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง เป็นเพราะการเมืองโลกตึงเครียดจากภาวะสงครามเย็น และสถานการณ์การเมืองภายในของประเทศที่เกี่ยวข้อง  ทั้งการต่อสู้เพื่อเอกราชและการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์ เรื่องของหญิงบริการได้รับการเปิดเผยมากขึ้นในทศวรรษ 1990  เพราะมีกระแสสิทธิมนุษยชนและสิทธิสตรีในระดับสากล ทำให้มีการเรียกร้องความยุติธรรมและการเยียวยาให้แก่สตรีเหล่านี้ จนส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของญี่ปุ่นกับอินโดนีเซียและฟิลิปปินส์ เรื่องราวของหญิงบริการชาวอินโดนีเซียและฟิลิปปินส์ได้รับการบันทึกและเผยแพร่ให้เกิดการรับรู้ในวงกว้าง เพื่อให้สตรีเหล่านี้ได้รับความยุติธรรม ให้สังคมตระหนักถึงสิทธิมนุษยชน และต่อต้านการกระทำรุนแรงต่อสตรี ตลอดจนให้ประวัติศาสตร์ได้ถูกบันทึกไว้อย่างตรงไปตรงมาเพื่อเป็นบทเรียน  

References

ชัยชาญ คุ้มปัญญา. (2558). รู้จักหญิงบำเรอ (comfort woman). สืบค้นเมื่อ 25 เมษายน 2565, จาก http://www.chanchaivision.com/2015/06/comfort-women-150614.html

ชะวัชชัย ภาติณธุ. (2548). กระบวนการเรียนรู้และปฏิบัติการสิทธิมนุษยชน. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

นิธิพัฒน์ สินเพ็ง. (2560). มาตรการความยุติธรรมระยะเปลี่ยนผ่านในประเทศญี่ปุ่นหลังสงครามโลก ครั้งที่ 2: ผลกระทบและความทรงจำของคนญี่ปุ่นต่อสงคราม. วารสารญี่ปุ่นศึกษา. 34(2): 114-128.

พวงทิพย์ เกียรติสหกุล, (2553). ชีวิตราษฎรไทยสมัยสงครามมหาเอเชียบูรพา: มุมมองผ่านการเข้ามาควบคุมทางรถไฟสายใต้ของกองทัพญี่ปุ่น. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร. 30(1): 117-137.

วุฒิชัย มูลศิลป์. (2551). ไทย จีน ญี่ปุ่นในยุคจักรวรรดินิยมใหม่ วิเคราะห์เปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

ศิริพร ดาบเพชร. (2559). ญี่ปุ่นกับการสร้างจักรวรรดินิยม. กรุงเทพฯ: ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

_____________. (2564). การเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิสตรีในเกาหลีใต้. กรุงเทพฯ: ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

โสภิดา วีรกุลเทวัญ. (2544). รายงานการวิจัยเรื่อง ตามรอยหญิงบำเรอในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง. กรุงเทพฯ: หจก.ธนบรรณการพิมพ์.

Cumings, Bruce. (1997). Korea’s Place in the Sun, A Modern History. New York: W.W.Norton & Company.

Dania, Maya. (2016). Former Sex Slaves Were Victims of War Crime. Retrieved April 25, 2022, from https://www.alpha-canada.org/historical-issues/former-sex-slaveswere-victims-of-war-crime-maya-dania

Galang, Evelina M. (2017). Lolas’ House: Survivors of Wartime Rape Camps. Evanston, IL.: Northwestern University Press.

Gluck, Carol; Mitter, Rana and Armstrong, Charles K. (2015). The Seventieth Anniversary of World War II’s End in Asia: Three Perspectives. The Journal of Asian Studies. 74(3): 531–537.

Gordon, Andrew. (2014). A Modern History of Japan: from Tokugawa Times to the Present. 3rd ed. Oxford: Oxford University Press.

Hayashi, Hirofumi. (1998). Japanese Comfort Women in Southeast Asia. Japan Forum. 10(2): 211- 219.

Kotler, Mindy. (2014). The Comfort Women and Japan’s War on Truth. Retrieved May 1, 2022, from https://www.nytimes.com/2014/11/15/opinion/comfortwomen-and-japans-war-on-truth.html

Mcmullen, Jane. (2016). The House Where the Philippines “Forgotten ‘Comfort Women” Were Held. Retrieved May 3, 2022, from https://www.bbc.com/news/magazine-36537605

Mosbergen, Dominique. (2017). The Harrowing Story of Fillipina Women Enslaved in Japan’s Wartime Rape Camps. Retrieved May 3, 2022, from https://www.huffpost.com/entry/comfort-women-philippines-m-evelina-galang_n_57232d48e4b0f309baf08490

O’Neill, Claire. (2011). Comfort Women: Untold Stories of Wartime Abuse. Retrieved May 3, 2022, from https://www.npr.org/sections/pictureshow/2011/06/04/134271795/comfort-women-untold-stories-of-wartime-abuse

Orreill, Kirsten. (2008). Who are the Ianfu (Comfort Women)?. New Voices. 2: 128-152.

Sigit & Anantasya, Farin A. (2021). Comfort Women: Impacts on Japan’s Relations with South Korea and The Philippines. Malaysian Journal of International Relations. 9: 144-163.

Spitzer, Kirk. (2012). Why Japan Is Still Not Sorry Enough. Retrieved May 1, 2022, from http://nation.time.com/2012/12/11/why-japan-is-still-not-sorry-enough/

The Asian Women’s Fund. (1997). “Ianfu” Mondai Kankei Bunken Mokuroku, (A Bibliography of Publications on the “Comfort Women” Issue), Retrieved May 3, 2022, from https://www.awf.or.jp/e1/Sources.html

Yan, Holly; KJ Kwon; Junko Ogura; & Tiffany Ap. (2015). South Korea, Japan Reach Agreement on ‘Comfort Women’. Retrieved May 3, 2022, from http://edition.cnn.com/2015/12/28/asia/south-korea-japan-comfort-women/index.html

Wakabayashi, Bob Tadashi. (2003). Review: Comfort Women: Beyond Litigious Feminism. Monumenta Nipponica. 58(2): 223-258.

Whaley, Floyd. (2016). In Philippines, World War II’s Lesser-Known Sex Slaves. Retrieved May 3, 2022, from https://www.ocregister.com/2016/01/30/in-philippinesworld-war-iis-lesser-known-sex-slaves-are-beginning-to-speak-out/

Downloads

Published

2023-06-30