ปัจจัยที่มีผลต่อทักษะและความสามารถในการใช้อินเทอร์เน็ตของวัยรุ่นไทย
Factors Effecting Internet Literacy among Thai Teenagers
Keywords:
ทักษะและความสามารถ, การใช้อินเทอร์เน็ต, วัยรุ่นไทยAbstract
ทักษะและความสามารถในการใช้อินเทอร์เน็ตของวัยรุ่นขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อทักษะและความสามารถในการใช้อินเทอร์เน็ตของวัยรุ่นไทยการศึกษานี้ใช้ข้อมูลจากการสําารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือนพ.ศ. 2560 มีแผนการสุ่มตัวอย่างที่ใช้เป็นแบบชั้นภูมิสองขั้นตอน (Stratified Two - Stage Sampling) ดําเนินการโดยสํานักงานสถิติแห่งชาติ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้วิเคราะห์ คือ วัยรุ่นไทยที่ใช้อินเทอร์เน็ตและมีอายุระหว่าง 13-19 ปี วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าถ่วงน้ำหนัก เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นตัวแทนของวัยรุ่นไทยทั้งประเทศ และทดสอบปัจจัยที่ส่งผลต่อทักษะและความสามารถในการใช้อินเทอร์เน็ตโดยใช้สถิติการถดถอยโลจิสติกทวิ (Binary Logistic Regression) ผลการศึกษาพบว่า ร้อยละ 81.2 ของวัยรุ่นไทยใช้อินเทอร์เน็ตทุกวัน และร้อยละ 89 ของวัยรุ่นมีจํานวนชั่วโมงในการใช้อินเทอร์เน็ตมากกว่า 1 ชม. แต่วัยรุ่นมีทักษะและความสามารถในการใช้อินเทอร์เน็ตในระดับตํา่า วัยรุ่นที่ใช้อินเทอร์เน็ตทุกวัน มีทักษะและความสามารถฯ สูงกว่า วัยรุ่นที่ใช้อินเทอร์เน็ตอย่างน้อยสัปดาห์ละครั้งหรืออย่างน้อยเดือนละครั้ง 1 เท่า และวัยรุ่นที่ใช้อินเทอร์เน็ตมากกว่า 1 ชั่วโมง มีทักษะและความสามารถฯ สูงกว่า วัยรุ่นที่ใช้อินเทอร์เน็ตน้อยกว่าหรือเท่ากับ 1 ชม. ถึง 1 เท่า ดังนั้น ภาครัฐควรกําาหนดให้มีหลักสูตร การเรียนการสอน และกิจกรรมเกี่ยวกับทักษะและความสามารถในการใช้อินเทอร์เน็ตในสถาบันการศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะและความสามารถฯ ของวัยรุ่นไทยต่อไปReferences
ขนิษฐา จิตแสง. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านบุคคลและกลุ่มบุคคลกับทักษะการรู้เท่าทันสื่ออินเทอร์เน็ตของเยาวชนในเขตเทศบาลนครขอนแก่น. อินฟอร์เมชั่น, 21(1): 46-58.
จินดารัตน์ บวรบริหาร. (2548). ความรู้เท่าทันสื่ออินเทอร์เน็ต การประเมินความเสี่ยงและพฤติกรรมการป้องกันตัวเองของนักเรียนชั้นมัธยมปลายในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ น.ม.(วารสารสนเทศ). กรุงเทพฯ: คณะนิเทศศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ถ่ายเอกสาร.
ฐานิดา ไชยนันทน์. (2560). พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ วท.ม. (สุขภาพจิต). กรุงเทพฯ: คณะวิทยาศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ถ่ายเอกสาร.
ธิดา แซ่ชั้น และ ทัศนีย์ หมอสอน. (2559). การรู้ดิจิทัล: นิยาม องค์ประกอบ และสถานการณ์ในปัจจุบัน. วารสารสารสนเทศศาสตร์, 34(4): 116-145.พงศ์เทพ แก้วเสถียร. (2557). การรู้เท่าทันสื่ออินเทอร์เน็หาวิทยาลัยหาดใหญ่ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยหาดใหญ่. สงขลา: คณะศิลปศาสตร์และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
พีรวิชญ์ คําาเจริญ และ วีรพงษ์ พลนิกรกิจ. (2561). เด็กกับการรู้เท่าทันดิจิทัล. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 6(2): 22-31.ยุบล เบ็ญจรงคกิจ. (2542). การวิเคราะห์ผู้รับสาร. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมชัย จิตสุชน. (2545). ความยากจนคืออะไรและวัดได้อย่างไร. รายงานทีดีอาร์ไอ, 32: 1-16.
สุวิช ถิระโคตร และ วีรพงษ์ พลนิกรกิจ. (2561). พฤติกรรมการใช้และการรู้เท่าทันอินเทอร์เน็ตและทัศนคติการใช้เนื้อหาด้านสุขภาวะบนอินเทอร์เน็ตของผู้สูงอายุ. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 36(1): 72-80.
สํานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม.(2562). สถานภาพการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศของประเทศไทยปี พ.ศ. 2562. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สํานักงานสถิติแห่งชาติ. (2561). การสํารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2561 ไตรมาส 4. กรุงเทพฯ: สํานักงานสถิติแห่งชาติ.
_________________. (2560). การสํารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2560. กรุงเทพฯ: สํานักงานสถิติแห่งชาติ.
อุษณี กังวารจิตต์. (2559). การรู้เท่าทันสื่อสังคมอออนไลน์ของเด็กและเยาวชน. รัฏฐาภิรักษ์, 53(8): 79-92.
Durndell, A., & Haag, Z. (2002). Computer Self-efficacy, Computer Anxiety, Attitudes towards the Internet and Reported Experience with the Internet by Gender, in an East European Sample. Computers in Human Behavior, 18(5): 521–536.
Facer, K., & Furlong, R. (2001). Beyond the Myth of the “Cyberkid”: Young People at the Margins of the Information Revolution. Journal of Youth Studies, 4(4): 451–469.
Hair, J.F., Jr., Black, W. C., Babin, B. J., Anderson, R. E., & Tatham, R. L. (2014). Multivariate Data Analysis. 7th ed. London: Pearson Education Limited.
Internet World Stats. (2019). World Internet Usage and Population Statistics 2019 Mid-Year Estimates. Retrieved December 1, 2019, from https://www.internetworldstats.com/stats.htm.
Jackson, A. L., Eye von, A., Biocca, A. F., Barbatsis, G., Zhao, Y., & Fitzgerald, E. H. (2006). Does Home Internet Use Influence the Academic Performance of Low Income Children? Developmental Psychology, 42(3): 429–435.
Kellner, D., & Share, J. (2005). Toward Critical Media Literacy: Core Concepts, Debates, Organizations, and Policy. Discourse, 26(3): 369-386.Kim, E., &Yang, S.. (2016). Internet Literacy and Digital Natives’ Civic Engagement: Internet Skill Literacy or Internet Information Literacy? Journal of Youth Studies,19(4): 438-456.
Leung, L., & Lee, P. S.N. (2012). Impact of Internet Literacy, Internet Addiction Symptoms,and Internet Activities on Academic Performance. Social Science Computer Review, 30(4): 403-418.
Livingstone, S. (2004). Media Literacy and the Challenge of New Information and Communication Technologies. The Communication Review, 7(1): 3-14.
___________. (2008). Internet literacy: Young People’s Negotiation of New Online Opportunities. In: Digital Youth, Innovation, and the Unexpected. Edited by McPherson, Tara; The John D; & Catherine T. pp. 101–122. MacArthur FoundationSeries on Digital Media and Learning. Cambridge, MA: The MIT Press.
Livingstone, S. & Helsper, E. (2010). Balancing Opportunities and Risks in Teenagers’ Use of the Internet: The Role of Online Skills and Internet Self-Efficacy. New Media & Society, 12(2): 309-329.
Yu, L., Recker, M., Chen, S., hao, N., & Yang, Q. (2018). The Moderating Effect of Geographic Area on the Relationship between Age, Gender, and Information and Communication Technology Literacy and Problematic Internet Use. Cyberpsychology,Behavior, and Social Networking, 21(6): 367-373.