อิทธิพลของอำนาจต่อพฤติกรรมเพื่อผลประโยชน์ส่วนตัว: การศึกษา อิทธิพลการป้องปรามของการรับรู้การถูกตรวจสอบเป็นตัวแปรกำกับ

Influence of Power on Self-Interested Behavior:The Deterrent Effect of PerceivedAccountability as a Moderator

Authors

  • ติณณ์ โบสุวรรณ คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • อภิชญา ไชยวุฒิกรณ์วานิช คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Keywords:

อำนาจ, ผลประโยชน์ส่วนตัว, การถูกตรวจสอบ

Abstract

          การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของอำ นาจต่อพฤติกรรมเพื่อผลประโยชน์ส่วนตัว โดยมีการป้องปรามในรูปแบบของการรับรู้การถูกตรวจสอบเป็นตัวแปรกำกับ กลุ่มตัวอย่างคือ นิสิต ปริญญาตรีจำ นวน 102 คน การวิจัยครั้งนี้มีการเก็บข้อมูลทั้งสิ้นสองระยะ ในระยะแรกเป็นการเก็บ ข้อมูลจากแบบสอบถามทั่วไปและมาตรวัดอัตลักษณ์ทางศีลธรรมทางเว็บไซต์ Google Forms ผู้วิจัย ทำการจัดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้คะแนนอัตลักษณ์ทางศีลธรรมเป็นเกณฑ์เข้าสู่หนึ่งในหกเงื่อนไข ได้แก่ อำ นาจสูงและไม่มีการรับรู้การถูกตรวจสอบ อำ นาจสูงและการรับรู้การถูกตรวจสอบตํ่า อำ นาจสูงและ การรับรู้การถูกตรวจสอบสูง อำ นาจตํ่าและไม่มีการรับรู้การถูกตรวจสอบ อำ นาจตํ่าและการรับรู้การ ถูกตรวจสอบตํ่า อำ นาจตํ่าและการรับรู้การถูกตรวจสอบสูง เพื่อเป็นการควบคุมตัวแปรแทรกซ้อน ให้มีค่าเฉลี่ยคะแนนอัตลักษณ์ทางศีลธรรมไม่แตกต่างกันสำ หรับการทำกิจกรรมวัดพฤติกรรมเพื่อผล ประโยชน์ส่วนตัว ในสองสัปดาห์ให้หลัง ผลการวิจัยพบว่า ผู้เข้าร่วมการวิจัยในกลุ่มอำ นาจสูงมีการรับรู้อำ นาจของตนเองสูงกว่าผู้เข้าร่วม การวิจัยในกลุ่มอำ นาจตํ่า อย่างไรก็ตามพบว่า ผู้เข้าร่วมการวิจัยในเงื่อนไขการรับรู้การถูกตรวจสอบสูง การรับรู้การถูกตรวจสอบต่า และไม่มีการรับรู้การถูกตรวจสอบมีการรับรู้การถูกตรวจสอบไม่แตกต่างกัน ํ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ นอกจากนี้ การวิเคราะห์ข้อมูลไม่พบปฏิสัมพันธ์ระหว่างอำ นาจและการรับรู้ การถูกตรวจสอบต่อพฤติกรรมเพื่อผลประโยชน์ส่วนตัวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และทั้งอำ นาจกับ การรับรู้การถูกตรวจสอบต่างไม่มีอิทธิพลหลักต่อพฤติกรรมเพื่อผลประโยชน์ส่วนตัวอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ

References

โกวิทย์ กังสนันท์, ทิพาพร พิมพ์พิสุทธิ์, และ เมธาวุฒิ พีรพรวิทูร. (2546). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องการพัฒนาองค์กรและเพิ่มขีดความสามารถของสํานักงาน ป.ป.ช. กรุงเทพฯ: สําานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ.

ป.ป.ช. (2559). แผนแม่บทบูรณาการป้องกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579). สืบค้นเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2562, จาก http://anticorruption.mot.go.th/mot-api/09-anti-web/upload/download//649427_2.%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%9A%E0%B8%97%20%E0%B8%9A%E0%B8%B9%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99%20%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AF%20%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B0%2020%20%E0%B8%9B%E0%B8%B5%20(%E0%B8%9E.%E0%B8%A8.%202560%20-%202579).pdf

มณีวรรณ ฉัตรอุทัย. (2558). การศึกษาเปรียบเทียบและสํารวจมิติทางวัฒนธรรมในบริบทประเทศไทยและกลุ่มประเทศเอเชียแปซิฟิก. สืบค้นเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2562, จาก http://mba.nida.ac.th/en/books/read/7054c820-0220-11e7-84bc-95148e2e4668?fbclid=IwAR3j831s9RNhd5Kjz7AJhCkIGhrTGxmiywG5ANIAhUlYMmNFQVFyecv1Au8

วิโรจน์ ฆ้องวงศ์. (2546). การตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งมิใช่ผู้ดํารงตําแหน่ง ทางการเมือง โดยคณะกรรมการ ป.ป.ช. ปริญญานิพนธ์ น.ม.(นิติศาสตร์). กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ถ่ายเอกสาร.

Aquino, K., & Reed, I.I. (2002). The Self-Importance of Moral Identity. Journal of Personality and Social Psychology, 83 (6): 1423-1440.

Batson, C.D., & Powell, A.A. (2003). Altruism and Prosocial Behavior.In Handbook of Psychology: Personality and Social Psychology Vol. 5. T. Millon & M. J. Lerner (Eds.), pp. 463–484. New Jersey: John Wiley & Sons, Inc.

Baumeister, R.F., & Leary, M.R. (1995). The Need to Belong: Desire for Interpersonal Attachments as A Fundamental Human Motivation. Psychological Bulletin,117(3): 497.

Chartrand, T.L., & Bargh, J.A. (1996). Automatic Activation of Impression Formation and Memorization Goals: Nonconscious Goal Priming Reproduces Effects of Explicit Task Instructions. Journal of Personality and Social Psychology, 71(3): 464-478.

DeCelles, K.A., et al. (2012). Does Power Corrupt or Enable? When and Why Power Facilitates Self-Interested Behavior. Journal of Applied Psychology, 97(3): 681-689.

De Dreu, C.K., & Nauta, A. (2009). Self-Interest and Other-Orientation in Organizational Behavior: Implications for Job Performance, Prosocial Behavior, and Personal Initiative. Journal of Applied Psychology, 94 (4): 913.

Einarsen, S., Aasland, M.S., & Skogstad, A. (2007). Destructive Leadership Behaviour: A Definition and Conceptual Model. The Leadership Quarterly, 18 (3): 207-216.

Galinsky, A.D., Gruenfeld, D.H., & Magee, J.C. (2003). From Power to Action. Journal of Personality and Social Psychology, 85(3): 453.

Gerbasi, M.E., & Prentice, D.A. (2013). The Self-and Other-Interest Inventory. Journal of Personality and Social Psychology, 105(3): 495.Hofstede, Geert, Hofstede, J. Gert, & Minkov, Michael. (2010). Cultures and Organizations:Software of the Mind. New York: McGraw-Hill.

Keltner, D., Gruenfeld, D.H., & Anderson, C. (2003). Power, Approach, and Inhibition. Psychological Review, 110(2): 265.

Lammers, J., Galinsky, A.D., Dubois, D., & Rucker, D.D. (2015). Power and Morality. Current Opinion in Psychology, 6: 15-19.

Meglino, B.M., & Korsgaard, A. (2004). Considering Rational Self-Interest as A Disposition:Organizational Implications of Other Orientation. Journal of Applied Psychology,89(6): 946.

Nagin, D.S. (2013). Deterrence in the Twenty-first Century. Crime and Justice, 42(1): 199-263.

Reynolds, W.M. (1982). Development of Reliable and Valid Short Forms of the Marlowe-Crowne Social Desirability Scale. Journal of Clinical Psychology, 38(1): 119-125.

Rus, D., van Knippenberg, D., & Wisse, B. (2012). Leader Power and Self-Serving Behavior:The Moderating Role of Accountability. The Leadership Quarterly, 23(1): 13-26.

Schwartz, S.H., & Bardi, A. (2001). Value Hierarchies Across Cultures: Taking a Similarities Perspective. Journal of Cross-Cultural Psychology, 32(3): 268-290.

Smith, P.K., & Bargh, J.A. (2008). Nonconscious Effects of Power on Basic Approach and Avoidance Tendencies. Social Cognition, 26(1): 1-24.

Transparency International. (2020). Corruption Perceptions Index 2019. Retrieved on November 1, 2019, from https://www.transparency.org/en/cpi/2019

Downloads

Published

2024-04-29