แรงงานผู้สูงอายุ: โอกาสและความท้าทายของการจัดการทรัพยากร มนุษย์ในธุรกิจการบริการ
Adult Workers: Opportunity and Challenges inHuman Resources Management of Hospitality Business
Keywords:
แรงงานผู้สูงอายุ, การจัดการทรัพยากรมนุษย์, ธุรกิจการบริการAbstract
ปัญหาแรงงานสูงอายุในปัจจุบันนับเป็นปัญหาหนึ่งที่ส่งผลกระทบต่อภาคธุรกิจของประเทศไทย มีสาเหตุมาจากอัตราการเกิดของประชากรตํ่าลง ทำให้โครงสร้างประชากรสูงวัยเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ แรงงานสูงอายุเพิ่มสัดส่วนขึ้น ขณะที่แรงงานอายุน้อยมีอัตราเพิ่มตํ่า เป็นโอกาสและความท้าทายของ ทรัพยากรมนุษย์ในการปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ในการบริหารแรงงานและสวัสดิการต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ธุรกิจการบริการที่มีการแข่งขันกันสูง ที่ต้องแข่งขันกันในเรื่องการบริการ เกิดความประทับใจ สร้าง ประสบการณ์ที่ดีให้แก่นักเดินทางที่มาใช้บริการ ส่งผลให้เกิดกำไรทางธุรกิจ โดยกุญแจที่สำคัญที่จะ สร้างความแตกต่างของธุรกิจได้นั้นคือ การส่งมอบบริการที่เหนือความคาดหวังให้แก่ลูกค้า แต่การที่จะทำ เช่นนั้นได้ต้องอาศัยประสบการณ์ในการทำงานที่ยาวนาน มีทักษะด้านการบริการทีเป็นเลิศ รวมถึง เข้าใจในบริบททางวัฒนธรรมของลูกค้าเป็นอย่างดี ดังนั้น แรงงานสูงอายุที่มีความชำนาญในงาน จึงเป็นแรงงานที่มีคุณค่าที่จะสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันของธุรกิจการบริการ บทความนี้จึงได้ นำเสนอถึงความท้าทายของการจัดการ ทรัพยากรมนุษย์ ที่ต้องบริหารจัดการแรงงานสูงอายุในธุรกิจ การบริการ ซึ่งอนาคตจะขาดแคลนแรงงานอายุน้อย และต้องหันมาบริหารจัดการแรงงานสูงอายุเพื่อ ขับเคลื่อนธุรกิจแทน โดยบทบาทที่นักทรัพยากรมนุษย์จำเป็นคำนึงถึงคือการวางนโยบายที่สอดคล้อง กับสภาพแรงงาน การจ้างงาน การบริหารจัดการทำงาน การบริหารค่าตอบแทน การดูแลให้ความ ช่วยเหลือด้านสวัสดิการ การพัฒนาด้านขีดความสามารถความก้าวหน้าในการทำงาน การจัดการองค์ ความรู้และการจัดกิจกรรมให้แก่ผู้สูงอายุReferences
กระทรวงแรงงานประเทศสิงคโปร์. (2552). การจ้างแรงงานสูงอายุของประเทศสิงคโปร์. สืบค้นเมื่อ 1 พฤษภาคม 2562, จาก http://singapore.mol.go.th/node/401.
กาญจนา แสนโคตร. (2556). ทัศนคติด้านความก้าวหน้าในสายอาชีพกับประสิทธิภาพและผลสัมฤทธิ์ ในการปฏิบัติงาน : ศึกษาเฉพาะกรณีข้าราชการกรมทางหลวง. วิทยานิพนธ์ รป.ม.(รัฐประศาสนศาสตร์)กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีปทุม. ถ่ายเอกสาร.
กานต์ อ่อนน้อม. (2559). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของอุตสาหกรรมการโรงแรมในอําเภอหัวหินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, 11(2): 189-199.
แก้วขวัญ ตั้งติพงศ์กูล, และ ศุภชัย ศรีสุชาติ. (2559). โครงการวิจัยถอดบทเรียนสถานประกอบการที่มีการจ้างแรงงานสูงวัย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เฉลิมพล แจ่มจันทร์. (2554). ข้อพิจารณามโนทัศน์ใหม่ของนิยามผู้สูงอายุ และ อายุเกษียณในประเทศไทย. วารสารประชากร, 4(1): 131-150.
ถิตรัตน์ พิมพาภรณ์, วิโรจน์ เจษฎา ลักษณ์, และ จันทนา แสนสุข. (2561). ปัจจัยสาเหตุและผลของกลยุทธ์การจัดการความสุขในการทํางาน: หลักฐานเชิงประจักษ์ของธุรกิจโรงแรมในประเทศไทย.วารสารเศรษฐศาสตร์และกลยุทธ์การจัดการ, 5(2): 1-20.
ธนวัฒน์ เพชรพันธ์. (2558). กิจกรรมการพัฒนาเส้นทางอาชีพเพื่อส่งเสริมความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานแผนกครัวโรงแรมระดับ 3 และ 4 ดาวในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. (การจัดการการท่องเที่ยวแบบบูรณาการ) กรุงเทพฯ: คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. ถ่ายเอกสาร.
นลวัชร์ ขุนลา และ เกษราภรณ์ สุตตาพงค์. (2558). การจัดการความรู้สู่การสร้างองค์กรที่ประสบความสําเร็จ. วารสารนักบริหาร, 35(1): 133-141.
เนตรนภา ไวทย์เลิศศักดิ์ (ยาบุชิตะ). (2559). ถอดบทเรียนจ้างงานและบริหารทรัพยากรมนุษย์ของญี่ปุ่นยุคสูงวัยระดับสุดยอด. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ประนอม โอทกานนท์, รัชนีภรณ์ ทรัพย์กรานนท์, วารี กังใจ และสิริลักษณ์ โสมานุสรณ์. (2557). ทักษะการจัดการความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพสําหรับผู้สูงวัย. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี,22(5): 716-730.
ปรีชา คํามาดี, วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์, และ จิราวรรณ คงคล้าย. (2560). การจัดการแรงงานผู้สูงอายุในประเทศไทย: ปัจจัยเชิงสาเหตุและผลลัพธ์. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 12(2): 23-34.
พรรัตน์ แสดงหาญ. (2558). การจ้างงานผู้สูงอายุในประเทศไทย. วารสาร HRIntelligence, 10(2): 94-104.
พัชร หงสยาภรณ์. (2560). ปัญหาทางกฎหมายในการจัดสวัสดิการนักกีฬาสมัครเล่นสังกัดสมาคมกีฬาแห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ น.ม. (นิติศาสตร์) กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. ถ่ายเอกสาร.
พิเชษฐ ไพบูลย์ศิริ. (2555). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย, 2(1): 191-199.
พิมุข สุศีลสัมพันธ์. (2558). การคุ้มครองแรงงานตามกฎหมายความปลอดภัยในการทําางานและกฎหมายจัดตั้งสถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทําางาน.วิทยานิพนธ์ น.ด. (นิติศาสตร์) กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. ถ่ายเอกสาร.
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2553). สรุปการประชุมการสร้างโอกาสการทําางานของผู้สูงอายุ: การจัดการเพื่ออนาคต. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย.
วิจักษณา หุตานนท์, และ สุวรรณา นาควิบูลย์วงศ์. (2560). โมเดลโครงสร้างการพัฒนาทักษะอาชีพผู้สูงอายุ. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 11(3): 312-324.
วิธาน เจริญผล. (2555). ไทยลงนาม MRA วิชาชีพท่องเที่ยว เพื่อเสรีเคลื่อนย้ายแรงงานท่องเที่ยวใน AEC. สืบค้นเมื่อ 1 พฤษภาคม 2562, จาก https://www.scbeic.com/th/detail/product/715.
สอาด บรรเจิดฤทธิ์. (2560). แนวปฏิบัติใหม่ด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของอุตสาหกรรมโรงแรม ภาคตะวันตก ประเทศไทย. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์,12(2): 287-297.
สํานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2561). สถิตินักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้าประเทศไทย ปี 2561 (จํานวนยอดสะสมเบื้องต้น) (International Tourist Arrivals to Thailand 2018). สืบค้นเมื่อ 1 พฤษภาคม 2562, จาก https://www.mots.go.th/more_news.php?cid=497&filename=index.
สํานักงานสถิติแห่งชาติ. (2560). การศึกษาแนวโน้มความต้องการของตลาดแรงงานในประเทศไทย ช่วงปี 2560 -2564. กรุงเทพฯ: สํานักงานสถิติแห่งชาติ.
สํานักงานสถิติแห่งชาติ. (2561). การทํางานของผู้สูงอายุในประเทศไทย 2560. สืบค้นเมื่อ 1 พฤษภาคม2562, จากhttp://www.dop.go.th/th/know/1/124.
อารีย์ มยังพงษ์. (2556). สภาพและความต้องการการฝึกอบรมด้าน ICT ของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร.วารสารวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน, 6(1): 108-119.
Antoniu, E. (2010). Career Planning Process and Its Role in Human Resource Development.Annals of the University of Petroşani, Economics, 10(2): 13-22.
Bennis, W. (1996). On Becoming a Leader. Canada: Pearson Education.
Birdee, G. S., Byrne, D. W., McGown, P. W., Rothman, R. L., Rolando, L. A., Holmes, M. C.,& Yarbrough, M. I. (2013). Relationship between Physical Inactivity and Health Characteristics among Participants in an Employee Wellness Program. Journal of Occupational and Environmental Medicine/American College of Occupationaland Environmental Medicine, 55(5): 514-519.
Bramantoro, T., Berniyati, T., Wening, G. R., Sosiawan, A., Palupi, R., & Zamzam, A. (2019).Self-made Herbal Mouthwash Training in Elderly Community as an EmpowermentProgram for Improving Oral Hygiene. Journal of International Oral Health,11(7): 37-39.
Brown, H. E., Gilson, N. D., Burton, N. W., & Brown, W. J. (2011). Does Physical Activity Impact on Presenteeism and Other Indicators of Workplace Well-Being?. Sports Medicine, 41(3): 249-262.
Buyens, D., Van Dijk, H., Dewilde, T., & De Vos, A. (2009). The Aging Workforce: Perceptionsof Career Ending. Journal of Managerial Psychology, 24(2): 102-117.
Ceron, A., Curini, L., & Negri, F. (2019). Intra-Party Politics and Interest Groups: Missing Links in Explaining Government Effectiveness. Public Choice, 180: 407-427.
Garavan, T. N. (1997). Training, Development, Education and Learning: Different or the Same?. Journal of European Industrial Training, 21(2), 39-50.
Harrison, R. (2011). Learning and Development. 5th ed. Bingley: Emerald Group Publishing Limited.
JILPT. (2015). Labor Situation in Japan and its Analysis: General Overview 2015/2016. Retrieved on 1 May 2019, from https://www.jil.go.jp/english/lsj/general/2015-2016/2015-2016.pdf
Mcintosh, B. (2001). An Employer’s Guide to Older Workers: How to Win Them Back and Convince Them to Stay. University of Vermont , the School of Business Administration, Burlington, VT.
Noe, R. A., Hollenbeck, J.R., Gerhart, B. & Wright P. M. (2012). Human Resource Management: Gaining A Competitive Advantage. Canada: Pearson Education.
Pace, R. W., Smith, P. C., & Mills, G. E. (1991). Human Resource Development : the Field. Englewood Cliffs, N.J: Prentice Hall.
Rothwell, W. J., & Graber, J. M. (2010). Competency-based Training Basics. Denver: American Society for Training and Development.
Sarfati, H. (2019). Book Review: Technology and the Future of Work: the Impact on Labour Markets and Welfare States. International Social Security Review, 72(1): 129-132.
Schwarzwald, J., Koslowsky, M., & Shalit, B. (1992). A Field Study of Employees’ Attitudes and Behaviors After Promotion Decisions. Journal of Applied Psychology, 77 (4): 511-514.
Shirahase, S. (2015). Social Inequality among Older People in Rapidly Aging Japan. Research in Social Statification and Mobility, 41: 1-10.