การวิเคราะห์องค์ประกอบรูปแบบการดำ เนินชีวิตของคนรุ่นใหม่ ในสังคมชนบทของประเทศไทย
Factor Analysis of Lifestyle of Young Generationin Thai Rural Society
Keywords:
รูปแบบการดําาเนินชีวิต, คนรุ่นใหม่, สังคมชนบทไทยAbstract
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบรูปแบบการดำ เนินชีวิตของคนรุ่นใหม่ใน สังคมชนบทของประเทศไทย เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม จาก กลุ่มตัวอย่างที่เป็นคนรุ่นใหม่ หรือเจเนอเรชั่นวาย (อายุ 18 ถึง 37 ปีใน พ.ศ. 2561) ที่อาศัยอยู่ใน สังคมชนบทเขตภาคกลางและภาคใต้ที่เป็นสถานที่ฝึกปฏิบัติงานอาสาสมัครของนักศึกษาบัณฑิต อาสาสมัคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รุ่นที่ 49 จำ นวน 389 ราย วิเคราะห์ผลการวิจัยโดยใช้การ วิเคราะห์องค์ประกอบ ผลการวิจัย พบว่า (1) รูปแบบการดำ เนินชีวิตด้านกิจกรรม แบ่งออกได้เป็น 10 กลุ่ม ได้แก่กลุ่มนักกิจกรรมเพื่อสังคม กลุ่มคนศรัทธาในศาสนาและรักสุขภาพ กลุ่มนักบริโภคตาม สมัยนิยม กลุ่มคนรักความบันเทิง กลุ่มคนชอบงานอดิเรก กลุ่มคนรักการเล่นกีฬาและออกกำลังกาย กลุ่มคนติดบ้าน กลุ่มนักอ่านและนักท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติกลุ่มคนนิยมรับสื่อจากวิทยุและโทรทัศน์ และกลุ่มคนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ (2) รูปแบบการดำ เนินชีวิตด้านความสนใจ แบ่งออกได้เป็น 12 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มคนสนใจความเป็นไปของสังคม กลุ่มคนสนใจดูแลสุขภาพตนเอง กลุ่มคนสนใจ พัฒนาตนเองและมองเป้าหมายอนาคต กลุ่มคนสนใจครอบครัว กลุ่มคนสนใจติดตามข่าวสาร กลุ่มคน สนใจวัตถุนิยม กลุ่มคนสนใจตามกระแสนิยม กลุ่มคนสนใจการเรียนรู้และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี กลุ่มคนสนใจการพักผ่อนและกิจกรรมนันทนาการ กลุ่มคนสนใจในเสียงเพลง กลุ่มคนสนใจใช้ชีวิต แบบพอเพียงและกลุ่มคนสนใจใช้ชีวิตแบบเรียบง่ายและ(3) รูปแบบการดำ เนินชีวิตด้านความคิดเห็น แบ่งออกได้เป็น 8 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มคนหัวคิดสมัยใหม่ กลุ่มคนคิดไม่ตามกระแสหลัก กลุ่มคนใส่ใจ การเมือง กลุ่มคนหัวคิดผู้ประกอบการ กลุ่มคนคิดบวก กลุ่มคนมุ่งเน้นคุณค่าทางจิตใจ กลุ่มคนหัว อนุรักษ์นิยม และกลุ่มคนให้ความสำคัญกับสถาบันครอบครัวReferences
กนกวรา พวงประยงค์. (2559). แบบแผนและสถานการณ์ความต้องการมีบุตรของสตรีที่สมรสในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ ศศ.ด. (ประชากรศาสตร์) กรุงเทพฯ: วิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ถ่ายเอกสาร.
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2550). การใช้ SPSS for Windows ในการวิเคราะห์ข้อมูล. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.
คาสปาร์ พีค วาสนา อิ่มเอม และรัตนาภรณ์ ตังธนเศรษฐ์. (2558). รายงานสถานการณ์ประชากรไทย พ.ศ. 2558 โฉมหน้าครอบครัวไทยยุคเกิดน้อยอายุยืน. สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2562, จาก http://thailand.unfpa.org/sites/default/files/pubpdf/State%20of%20Thailand%20Population %20report%202015-Thai%20Family_th.pdf
จิรวุฒิ หลอมประโดน และประพล เปรมทองสุข. (2555). รูปแบบการดําเนินของผู้หญิงวัยทําางานในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 3(1): 145-162.
ชาย โพธิสิตา. (2555). ชนบทไทยในวิถีทุนนิยม. วารสารราชบัณฑิตยสถาน, 37(4): 163-185.
ชล บุญนาค และปัทมาวดี โพชนุกูล. (2558). คุณภาพชีวิตคนชนบทไทย (2): การตอบสนองและปรับตัว ของชุมชนชนบทไทย กรณีบ้านเปร็ดใน จังหวัดตราด. สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2562,จากhttps://www.researchgate.net/publication/305778230
นภาพร อติวานิชยพงศ์ กนกวรรณ ละรึก และกนกวรรณ แซ่จัง. (2557). ชุดโครงการวิจัย ชนบทไทยในมุมมองบัณฑิตอาสาสมัคร: บทสังเคราะห์องค์ความรู้จากงานศึกษาของบัณฑิตอาสาสมัครมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2562, จาก http://www.psds.tu.ac.th/paper/a1.pdf
ปัทมาวดี โพชนุกูล. (2556). ชนบทไทยภายใต้กระแสความเปลี่ยนแปลง: ปาฐกถาพิเศษในการสัมมนาทางวิชาการสายงานเศรษฐกิจ ประจําปี 2556. สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2562, จาก https://www.nesdc.go.th/article_attach/PPT_000.pdf
ยุทธ ไกยวรรณ์. (2557). การวิเคราะห์สถิติหลายตัวแปรสําหรับงานวิจัย. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ลือรัตน์ อนุรัตน์พานิช. (2558). Generation Y ยังร้ายอยู่. กรุงเทพฯ: ไทยเอฟเฟ็กสตูดิโอ.
สถาบันวิจัยประชากรและสังคม. (2559). สุขภาพคนไทย 2559: ตายดี วิถีเลือกได้. นครปฐม:สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
สนธยา พลศรี. (2545). ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
สรรเพชญ ไชยสิริยะสวัสดิ์. (2557). สแกนนิสัย”คน 4 เจเนอเรชั่น” แม้ต่างกันแต่อยู่ร่วมกันได้. สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2562, จาก http://m.matichon.co.th/readnews.php?newsid=1401615955
สํานักงานสถิติแห่งชาติ. (2561). สถิติประชากรและบ้าน. สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2562, จาก http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/upstat_age.php
สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติ. (2504). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1(พ.ศ. 2504 – 2509). สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2562, จาก http://www.nesdb.go.th/ewt_dl_link.php?nid=3776
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). ร่างยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579). สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2562, จาก http://www.nesdb.go.th /download/document/ร่างยุทธศาสตร์ชาติ%20ระยะ%2020%20ปี%20(พ.ศ2560%20-%202579).pdf
อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์. (2556). ความเปลี่ยนแปลงชนบทในสังคมไทย: ประชาธิปไตยบนความเคลื่อนไหว. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
________________. (2559). การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย: ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ.สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2562, จาก https://www.slideshare.net/FURD_RSU/ss-58359405
อาลิสา วีระนพรัตน์ และ ณักษ์ กุลิสร์. (2557). รูปแบบการดาเนินชีวิต ทัศนคติและพฤติกรรมการบริโภคที่มีต่ออาหารธัญพืชในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษา, 8(1):93-103.
Assael, H. (1995). Consumer Behavior and Marketing Action. 6th ed. Ohio: SouthWestern College.
Cronbach, L. J. (1970). Essential of Psychological Testing. 3rd ed. New York: Harper Row.Dickey, J., & Sullivan, J. (2007). Generation Shift in Media Habits. Media Week, 17(7): 10.
Evans, M., Jamal, A. & Foxall, G. (2009). Customer Behavior. 2nd ed. Chichester: John Winley & Sons.
Hair, F. J., Black, C., W., Babin, J. B. & Anderson, E. R. (2006). Multivariate Data Analysis. 6th ed. Upper Saddle River. NJ: Pearson Prentice Hall.
Hawkins, D. L., Best, R. J., & Coney, K. A. (1986). Consumer Behavior: Implications for Marketing Strategy. 3rd ed. Plano, TX: Business.
Himmel, B. (2008). Different Strokes for Different Generations. Rental Product News,30(7): 42-46.
Hoyer, W. D. & MacInnin, D., J. (2010). Customer Behavior. 5th ed. Manson, Ohio: South-Western CengageLearning.
Kucukemiroglu, O. (1999). Market Segmentation by Using Consumer Lifestyle Dimensionsand Ethnocentrism An Empirical Study. European Journal of Marketing, 33(5/6): 470-487.
Lynn-Nelson, G. (2007). The Next Generation of Learners. American Association of Law Libraries Spectrum, 11: 8.
Meier, J. Austin, S. & Corcker, M. (2010). Generation Y in the Workforce: Managerial Challenges. The Journal of Human Resource and Adult Learning, 6(1): 68-78.
Plummer, J. T. (1974). The Concept and Application of Life Style Segmentation. Journalof Marketing, 38(1): 33-37.
Reimer, B. (1995). Youth and Modern Lifestyle in Youth Culture in Late Modernity. London: Sage.
Rhoda, R. (1983). Rural Development and Urban Migration: Can We Keep Them down on the Farm?. The International Migration Review, 17(1): 34-64.
Rovinelli, R. & Hambleton, R. K. (1976). On The Use of Content Specialists in the Assessment of Criterion-Referenced Test Item Validity. Paper presented at the meeting of AERA, San Francisco.
Sigman, A. (2009). Well Connected?. The Biological Implications of Social Networking Biologist, 56(1): 14-20.
Solomon, M. R. (2015). Customer Behavior: Market Survey. 11th ed. Boston: Pearson.
Terjesen, S. Vinnicombe, S. & Freeman, C. (2006). Attractive Generation Y Graduates:Organizational Attributes, Likelihood to Apply and Sex Differences. CareerDevelopment International, 12(6): 504-522.
Van Meter, R. A., Grisaffe, D. B. G., Chonko, L. B., & Roberts, J. A. (2012). Generation Y’s Ethical Ideology And Its Potential Workplace Implications. Journal of Business Ethics, 117(1): 93-109.
Van den Bergh, J., & Behrer, M. (2011). How Cool Brands Stay Hot: Branding to Generation Y. London: Kogan Page Limited.
Williams, K., C. & Page, R., A. (2011). Marketing to Generations. Journal of Behavioral Studies in Business, 3: 1-17.
Yamane, T. (1967). Statistics, An Introductory Analysis. 2nd ed. New York: Harper and Row.