ต้นแบบสัญลักษณ์นำโชคที่เหมาะสมสำหรับโครงการศึกษาวิจัย และ พัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดำริ

ppropriate Mascot’s Prototype of the Laem Phak Bia Environmental Research and Development Project

Authors

  • นิติกร บริบูรณ์ คณะสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • อิทธิพล ราศรีเกรียงไกร คณะสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • อรอนงค์ ผิวนิล คณะสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • สตรีไทย พุ่มไม้ คณะสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Keywords:

ความคิดเห็น, ต้นนแบบสัญลักษณ์นําโชค , สัญลักษณ์นําโชค , ระบบบําบัดน้ำเสีย

Abstract

             การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดเลือกต้นแบบสัญลักษณ์นำ โชคของระบบบำ บัดนํ้าเสีย ที่เหมาะสมสำ หรับโครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดำ ริ โดยใช้แบบภาพจำลองสัญลักษณ์นำ โชคจำ นวน 5 ผลงาน และเครื่องมือแบบสอบถาม ในการสำ รวจ ความคิดเห็นจากกลุ่มตัวอย่างผู้เข้าเยี่ยมชมโครงการฯ จำ นวน 200 คน โดยสำ รวจความคิดเห็นจาก กลุ่มตัวอย่าง จำ นวน 8 ด้าน ได้แก่ ด้านการสื่อถึงระบบบำ บัดนํ้าเสียของโครงการฯ ด้านความน่ารัก ด้านสีสัน ด้านความเป็นเอกลักษณ์ด้านการกระตุ้นความสนใจ ด้านความโดดเด่น ด้านการจดจำ และ ด้านความสดใสร่าเริง ผลที่ได้จากการสำรวจพบว่า ผู้เข้าเยี่ยมชมโครงการฯ มีระดับความคิดเห็นต่อต้นแบบสัญลักษณ์ นำ โชคตัวนํ้า (Mascot A) สูงที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.35 ซึ่งเป็นต้นแบบที่เหมาะสมที่สุดในการ สร้างสัญลักษณ์นำ โชคของระบบบำ บัดนํ้าเสียโครงการฯ รองลงมาได้แก่ ต้นแบบสัญลักษณ์นำ โชค ตัวนกกระทุง (Mascot B) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.32 ต้นแบบสัญลักษณ์นำ โชคตัวเงินตัวทอง (Mascot C) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.29ต้นแบบสัญลักษณ์นำ โชคตัวออกซิเจน (Mascot D) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.23และ ต้นแบบสัญลักษณ์นำ โชคตัวจุลินทรีย์(Mascot E) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.04 ตามลำดับ

References

นฤพนธ์ คมสัน. (2560). การพัฒนาสัญลักษณ์นําาโชคประจําาอําาเภอ จังหวัดพิษณุโลก. นเรศวรวิจัย,13: 1516 – 1529.

บริษัท ปตท. จําากัด (มหาชน). (2558). เส้นทางของ GODGI จาก Line Sticker สู่ Mascot ใน PTT Life Station. ฝ่ายสื่อสารองค์กร วารสารธุรกิจน้ำมัน ปตท, 23(1): 6-9.

พิจิตรา มงคลศรีพิพัฒน์. (2559). พฤติกรรมการเปิดรับ และความพึงพอใจต่อสื่อประชาสัมพันธ์โครงการเที่ยวไทยเท่กับพฤติกรรมการตัดสินใจท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวไทย. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. ถ่ายเอกสาร.

ไพโรจน์ ธีระประภา. (2546). การออกแบบสัญลักษณ์ตัวแทนประจําจังหวัดภาคเหนือของประเทศไทย.วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์).กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. ถ่ายเอกสาร.

วัลลภ ทาทอง. (2548). โปรแกรมสื่อความหมายเกี่ยวกับการบําาบัดน้ำเสียและการกําจัดขยะในพื้นที่โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดเพชรบุรี.

วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ถ่ายเอกสาร.

สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. (2560). คลังศัพท์ไทย. สืบค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2560, จาก http://www.thaiglossary.com/search/Mascots

Isari Pairoa & Arunrangsiwed. (2016). The Effect of Brand Mascots on Consumers’ Purchasing Behaviors. International Journal of Social, Behavioral, Educational, Economic, Business and Industrial Engineering, 10(5): 1702-1705.

Krejcie, Robert V. & Morgan, Earyle W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30: 608-609.

Lin, Rungtai, Lin, P.C. & Ko, K.J.. (1999). A Study of Cognitive Human Factors in Mascot Design. International Journal of Industrial Ergonomics, 23: 107-122.

Sagyan Sagarika Mohanty. (2014). Growing Importance of Mascot & their Impact on Brand Awareness – A Study of Young Adults in Bhubaneswar City. IJCEM International Journal of Computational & Management, 17(6): 42-44.

Tom Spencer. (2013). Meet Our Mascot. Retrieved October 14, 2018, from http://www.unh.edu/unhtales/meet-our-mascot/

Downloads

Published

2024-04-29