ความต้องการจำเป็นของการพัฒนาการบริหารวิชาการโรงเรียนในสังกัด เทศบาลนครรังสิต จังหวัดปทุมธานี ตามแนวคิดความอยู่ดีมีสุขของผู้เรียน THE PRIORITY NEEDS OF DEVELOPING ACADEMIC MANAGEMENT OF RANGSIT CITY MUNICIPALITY SCHOOLS PATHUM THANI PROVINCE BASED ON THE CONCEPT OF STUDENT WELL-BEING

Main Article Content

พรพรหม พานิชเจริญ
ธีรภัทร กุโลภาส

Abstract

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นของการพัฒนาการบริหารวิชาการโรงเรียนในสังกัดเทศบาลนครรังสิต จังหวัดปทุมธานี ตามแนวคิดความอยู่ดีมีสุขของผู้เรียน ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงบรรยาย โดยมีผู้ให้ข้อมูลคือ ผู้อำนวยการโรงเรียน จำนวน 8 คน และครูผู้สอน จำนวน 73 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของของการพัฒนาการบริหารวิชาการโรงเรียนในสังกัดเทศบาลนครรังสิต จังหวัดปทุมธานี โดยสถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ดัชนีความต้องการจําเป็น และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการบริหารวิชาการโรงเรียนในสังกัดเทศบาลนครรังสิต จังหวัดปทุมธานี ตามแนวคิดความอยู่ดีมีสุขของผู้เรียน ในภาพรวมคือ 0.127 (PNI Modified = 0.127) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ลำดับความต้องการจำเป็นสูงที่สุด คือ การพัฒนาหลักสูตร (PNI Modified = 0.136) รองลงมา คือ การการวัดและประเมินผล (PNI Modified = 0.126) และขอบข่ายการบริหารวิชาการที่มีลำดับความต้องการจำเป็นต่ำที่สุด คือ การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ (PNI Modified = 0.121)

Article Details

How to Cite
พานิชเจริญ พ., & กุโลภาส ธ. (2023). ความต้องการจำเป็นของการพัฒนาการบริหารวิชาการโรงเรียนในสังกัด เทศบาลนครรังสิต จังหวัดปทุมธานี ตามแนวคิดความอยู่ดีมีสุขของผู้เรียน: THE PRIORITY NEEDS OF DEVELOPING ACADEMIC MANAGEMENT OF RANGSIT CITY MUNICIPALITY SCHOOLS PATHUM THANI PROVINCE BASED ON THE CONCEPT OF STUDENT WELL-BEING. วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 18(1), 41–55. Retrieved from https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jre/article/view/15191
Section
บทความวิจัย (Research Articles)

References

กมลวรรณ ตังธนกานนท์. (2565). การประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริง: แนวทางที่สอดคล้องกับรูปแบบการสอนในยุคชีวิตวิถีใหม่ [เอกสารประกอบการสอน]. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ. 2550. (2550,16 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา (เล่ม 124 ตอนที่ 24ก, น. 29-30).

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). การประเมินเพื่อเรียนรู้: การตั้งคำถามและการให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้. สืบค้นจาก http://academic.obec.go.th/images/document/1517564005_d_1.pdf

ณรงค์ พิมสาร และคณะ. (2663, พฤษภาคม-สิงหาคม). บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาที่มีต่อการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ฯ, 7(2), 315-324. สืบค้นจาก Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/EDMCU/article/view/243879

ดวงพร อุ่นจิตต์. (2557). กลยุทธ์การบริหารโรงเรียนเพื่อส่งเสริมความผาสุกของนักเรียนประถมศึกษา. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ). สืบค้นจาก http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45488

พรทิพย์ จับจิตต์. (2564, มิถุนายน). สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา เพื่อสนับสนุนการเสริมสร้างคุณลักษณะนักเรียนสำหรับสังคมอยู่ดีมีสุข. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 49(4), 1-8. สืบค้นจาก https://lib.edu.chula.ac.th/FILEROOM/CU_FORMJOURNAL/DRAWER001/GENERAL/DATA0017/00017678.PDF

พระมหาประยุทธ์ ปยุตฺโต(ยาวิชัย), พระครูศรีสุธรรมนิวิฐ และ วรกฤตเถื่อนช้าง. (2564, พฤศจิกายน). การบูรณาการหลักสัปปุริสธรรมในการบริหารจัดการการศึกษาของสถานศึกษา. Journal of Roi Kaensarn Academi. 6(11), 385-398. สืบค้นจาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JRKSA/article/view/251142

พิมพาพัญ ทองกิ่ง. (2563, มกราคม-เมษายน). บทบาทครูกับการจัดบรรยากาศชั้นเรียนเชิงบวกในศตวรรษที่ 21. ศึกษาศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 4(1), 50-59. สืบค้นจาก https://so01.tci-thaijo.org/index.php/cmujedu/article/view/226951

ไพลิน พิงพิทยากุล. (2562). การบริหารงานวิชาการของโรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี (ปริญญานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง, กรุงเทพฯ). สืบค้นจาก http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/2641/1/58252337.pdf

ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580). (2561, 13 ตุลาคม). ราชกิจจานุเบกษา. (เล่ม 135 ตอนที่ 82ก, น. 30-36).

วัศพล โอมพรนุวัฒน์. (2562, กรกฎาคม). การประเมินความต้องการจำเป็นในการบริหารวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษา ตามแนวคิดความฉลาดรู้เรื่องดิจิทัล. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 15(2), 1-11. สืบค้นจาก https://so01.tci-thaijo.org/index.php/OJED/article/download/240732/165142

สุบิน ยุระรัช. (2554, พฤษภาคม-สิงหาคม). แนวคิดเกี่ยวกับการสังเคราะห์งานประเมินความต้องการจำเป็น. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 13(2), 31-54. สืบค้นจาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/9344

สุวิมล ว่องวาณิช. (2548, พฤษภาคม-สิงหาคม). กลยุทธ์ทางเลือกเพื่อพัฒนาวัฒนธรรมและสมรรถภาพการวิจัยและประเมินของครูมืออาชีพในฐานะผู้นำการเปลี่ยนแปลงในการขับเคลื่อนสู่โรงเรียนฐานความรู้: การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็นแบบสมบูรณ์. วารสารวิธีวิทยาการวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 18(2), 193-211. สืบค้นจาก https://portal.edu.chula.ac.th/pub/jrm/index.php/jrm/article/download/159/pdf_170

สุวิมล ว่องวาณิช. (2562). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2552). คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู. สืบค้นจาก http://koob.samroiwit.ac.th/webdata/teacherflow.pdf

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12. สืบค้นจาก https://www.royalthaipolice.go.th/downloads/plan12.pdf

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2564). กรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13. สืบค้นจาก https://www.ldd.go.th/PDF/DevelopmentPlanNo.13.pdf

เทศบาลนครรังสิต. (2565). แผนพัฒนาท้องถิ่น เทศบาลนครรังสิต พ.ศ. 2566-2570 สืบค้นจาก https://drive.google.com/file/d/1SvKJ2oQeJWpxpfy6bfIyTnsSJ8Jx5dUj/view

โรงเรียนดวงกมล. (2564). รายงานการประเมินตนเองเอง ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนดวงกมล.

โรงเรียนนครรังสิตสิริเวชชะพันธ์. (2564). รายงานการประเมินตนเองเอง ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนนครรังสิตสิริเวชชะพันธ์.

โรงเรียนมัธยมนครรังสิต. (2564). รายงานการประเมินตนเองเอง ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนมัธยมนครรังสิต.

Anderson, D. L., & Graham, A. P. (2016). Improving student wellbeing: Having a say at school. School Effectiveness and School Improvement, 27(3), p. 348-366. Retrieved from

https://doi.org/10.1080/09243453.2015.1084336

Ashdown, D. M., & Bernard, M. E. (2012). Can Explicit Instruction in Social and Emotional Learning Skills Benefit the Social-Emotional Development, Well-being, and Academic Achievement of Young Children? Early Childhood Education Journal, 39(6), p. 397-405. Retrieved from https://doi.org/10.1007/s10643-011-0481-x

Barry, M. M., Clarke, A. M., Jenkins, R., & Patel, V. (2013). A systematic review of the effectiveness of mental health promotion interventions for young people in low and middle income countries. BMC Public Health, 13(1), p. 16. Retrieved from https://doi.org/10.1186/1471-2458-13-835

Beane, J. A. (1982, 1 April). Self-Concept and Self-Esteem as Curriculum Issues. Educational leadership, 39(7), p. 504-506. Retrieved from https://www.ascd.org/el/articles/self-concept-and-self-esteem-as-curriculum-issues

Clement, N. (2010). Student Wellbeing at School: The Actualization of Values in Education. In T. Lovat, R. Toomey, & N. Clement (Eds.), International Research Handbook on Values Education and Student Wellbeing (p. 37-62). Springer Netherlands. Retrieved from https://doi.org/10.1007/978-90-481-8675-4_3

González-Zamar, M.-D., Ortiz Jiménez, L., Sánchez Ayala, A., & Abad-Segura, E. (2020, 3 February). The Impact of the University Classroom on Managing the Socio-Educational Well-being: A Global Study. International Journal of Environmental Research and Public Health, 17(3), p. 1-27. Retrieved from https://www.mdpi.com/1660-4601/17/3/931

Iqbal, M. H., Siddiqie, S. A., & Mazid, M. A. (2021). Rethinking theories of lesson plan for effective teaching and learning. Social Sciences & Humanities Open, 4(1), p. 1-2. Retrieved from https://doi.org/10.1016/j.ssaho.2021.100172

McKeering, P., Hwang, Y.-S., & Ng, C. (2021). A study into wellbeing, student engagement and resilience in early-adolescent international school students. Journal of Research in International Education, 20(1), p. 69-92.

Nguyen, D. T., Wright, E. P., Dedding, C., Pham, T. T., & Bunders, J. (2019 September). Low Self-Esteem and Its Association With Anxiety, Depression, and Suicidal Ideation in Vietnamese Secondary School Students: A Cross-Sectional Study [Original Research]. Frontiers in Psychiatry, 10(698). p. 1-7. Retrieved from https://doi.org/10.3389/fpsyt.2019.00698

OECD. (2017). PISA 2015 Results (Volume III). Retrieved from https://doi.org/doi:https://doi.org/10.1787/9789264273856-en

Orkibi, H., & Ronen, T. (2017, 7 June). Basic psychological needs satisfaction mediates the association between self-control skills and subjective well-being. Frontiers in psychology, 8(936). P. 1-10. Retrieved from https://doi.org/10.3389/fpsyg.2017.00936

Patton, M. Q. (2008). Utilization-focused evaluation. Sage publications.

Psacharopoulos, G., & Patrinos, H. A. (2018, 7 June). Returns to investment in education: a decennial review of the global literature. Education Economics, 26(5), p. 445-458. Retrieved from https://doi.org/10.1080/09645292.2018.1484426

Ratelle, C. F., Simard, K., & Guay, F. (2013, June). University students’ subjective well-being: The role of autonomy support from parents, friends, and the romantic partner. Journal of Happiness Studies, 14(3), p. 893-910. Retrieved from https://doi.org/10.1007/s10902-012-9360-4

Woolf, P. L. & Digby, J. (2021). Student Wellbeing: An analysis of the evidence. Retrieved from https://oxfordimpact.oup.com/wp-content/uploads/2021/02/Student-wellbeing-impact-study-white-paper.pdf

Rodríguez-Fernández, A., Ramos-Díaz, E., Madariaga, J. M., Arrivillaga, A., & Galende, N. (2016). Steps in the construction and verification of an explanatory model of psychosocial adjustment. European Journal of Education and Psychology, 9(1), p. 20-28. Retrieved from https://doi.org/10.1016/j.ejeps.2015.11.002

Stanfield J. (2020). It all starts with YOU. Retrieved from https://stanfield.com/developing-a-sense-of-purpose-in-youth/

Tofade, T., Elsner, J., & Haines, S. T. (2013). Best practice strategies for effective use of questions as a teaching tool. American journal of pharmaceutical education, 77(7), p. 8. Retrieved from https://www.ajpe.org/content/ajpe/77/7/155.full.pdf

Tong, L., Reynolds, K., Lee, E., & Liu, Y. (2019). School Relational Climate, Social Identity, and Student Well-Being: New Evidence from China on Student Depression and Stress Levels. School Mental Health, 11, p. 509-521. Retrieved from https://doi.org/10.1007/s12310-018-9293-0

Yalçın, İ., & Malkoç, A. (2015). The Relationship Between Meaning in Life and Subjective Well-Being: Forgiveness and Hope as Mediators. Journal of Happiness Studies, 16(4), p. 915-929. Retrieved from https://doi.org/10.1007/s10902-014-9540-5