การใช้ตัวแบบในแบบเรียนภาษาไทยเพื่อพัฒนาคุณธรรมของผู้เรียน
Abstract
บทคัดย่อ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์บทอ่านในแบบเรียนภาษาไทยที่กระทรวงศึกษาธิการได้จัดขึ้น โดยบทอ่านในแบบเรียนภาษาไทย มีคุณค่าในการส่งเสริมและพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ และสอดแทรกความบันเทิง ด้านการสร้างตัวละคร เนื้อเรื่องที่สัมพันธ์กับการนำเข้าสู่สาระของวิชาภาษาไทย ตามมาตรฐานตัวชี้วัดที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนด โดยตัวละครในบทอ่านเหล่านั้นมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการเป็น “ตัวแบบ” ที่ส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมของผู้เรียนที่ผู้สอนจะสามารถนำมาใช้เพื่อพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนได้คำสำคัญ: ตัวแบบ แบบเรียนภาษาไทย คุณธรรมAbstract This article aims to analyze reading texts in Thai textbooks from the Ministry of Education. The results found that Thai textbooks are valuable for supporting and developing learners. Moreover, these textbooks also allow learners to gain knowledge, understanding, and to integrate entertainment with academic principles. In terms of characters in Thai textbooks, the stories in textbooks are related to the subject of Thai language. All of the chapters are aligned with the standard indicators set by the Ministry of Education. Therefore, the characters in those textbooks are very important and can serve as a "model" to support the morality and ethics of the learners. Teachers can use these characters to develop the desirable characteristics of the learners. Keywords: Model, Thai textbooks, MoralityDownloads
Downloads
Published
Issue
Section
License
1) ต้องรับรองว่าผลงานที่ส่งมานั้นเป็นผลงานใหม่และไม่เคยตีพิมพ์ที่ใดมาก่อน
2) เนื้อหาของบทความจะต้องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของวารสาร และบทความต้องไม่คัดลอกผลงานของบุคคลอื่น
3) ต้องรายงานข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นจากการทำวิจัย ไม่บิดเบือนข้อมูลหรือให้ข้อมูลที่เป็นเท็จ
4) ต้องเขียนบทความให้ถูกต้องตามรูปแบบที่กำหนดไว้ใน “คำแนะนำสำหรับผู้เขียน”
5) ต้องปรับบทความตามรูปแบบและขนาดตัวอักษรตามแบบฟอร์ม (template) ของวารสาร
6) ผู้เขียนที่มีชื่อปรากฏในบทความทุกคนต้องเป็นผู้ที่มีส่วนในการดำเนินการวิจัยจริง
7) ต้องอ้างอิงผลงานของผู้อื่น กรณีที่มีการนำผลงานเหล่านั้นมาใช้ในผลงานของตัวเอง รวมทั้งจัดทำรายการอ้างอิงท้ายบทความ
8) ต้องตรวจสอบความถูกต้องของรายการเอกสารอ้างอิงทั้งในแง่ของรูปแบบและเนื้อหา
9) ไม่ควรนำเอกสารวิชาการที่ไม่ได้อ่านมาอ้างอิงหรือใส่ไว้ในเอกสารอ้างอิง ควรอ้างอิงเอกสารเท่าที่จำเป็นอย่างเหมาะสม ไม่ควรอ้างอิงเอกสารที่มากจนเกินไป
10) ต้องระบุแหล่งทุนที่สนับสนุนในการทำวิจัยนี้และ / หรือมีผลประโยชน์ทับซ้อน (หากมี) จะต้องระบุในบทความและแจ้งให้บรรณาธิการทราบ