ความเหลื่อมลํ้าทางสังคมของไทย ในมิติด้านการศึกษา เศรษฐกิจ และสาธารณสุข
Thailand’s Social Inequalities in the Dimensions of Education, Economic and Public Health
Keywords:
ความเหลื่อมล้ำ,, การศึกษา, เศรษฐกิจ, สาธารณสุขAbstract
ประเด็นความเหลื่อมล้ำทางสังคมของไทย จัดว่าเป็นมิติที่สำคัญยิ่งต่อการจัดการปัญหาในสังคมและยังคงพบความเหลื่อมล้ำอยู่ในหลายมิติ แม้ว่าจะมีหน่วยงานจากหลายภาคส่วนเข้ามาช่วยกันศึกษาปัญหาและแนวทางลดความเหลื่อมล้ำนั้น นอกจากนี้ยังหมายรวมไปถึงประเด็นการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs) สำคัญ 17 ประเด็น ในประเด็นที่ 10 เรื่องความเหลื่อมล้ำทางสังคม ซึ่งเป็นกรอบแนวคิดที่สำคัญขององค์การสหประชาชาติ (UN) รวมทั้งมีความสำคัญต่อนโยบายในการพัฒนาประเทศอย่างยิ่ง ที่ผ่านมามีการศึกษาและวิเคราะห์ประเด็นความเหลื่อมล้ำทางสังคมของไทยที่หลากหลาย การทบทวนวรรณกรรมครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อการวิจัยเชิงเอกสารที่เกี่ยวข้องกับประเด็นความเหลื่อมล้ำในสังคม มุ่งเน้นประเด็นความเหลื่อมล้ำที่สอดคล้องกัน 3 ประเด็น ได้แก่ ความเหลื่อมล้ำทางด้านการศึกษา ทางด้านเศรษฐกิจ และทางด้านสาธารณสุข โดยศึกษาประเด็นในบริบทของไทยและต่างประเทศ หยิบยกประเด็นที่ประสบความสำเร็จของในต่างประเทศมาถอดบทเรียนความสำเร็จเหล่านั้นและเทียบเคียงกับประเด็นปัญหาของไทย ซึ่งจากผลการทบทวนวรรณกรรมโดยจะได้นำข้อมูลที่เป็นประโยชน์ไปพัฒนาต่อยอดในการลดความเหลื่อมล้ำทางสังคมของไทยต่อไปReferences
กระทรวงต่างประเทศ. (2555). สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล. สืบค้นเมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2564, จาก https://www.mfa.go.th/th/content/5d5bcc2115e39c306000a1a4?cate=5d5bcb4e15e39c3060006870
กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา. (2563). กลุ่มผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษาและขาดแคลนทุนทรัพย์ทั่วประเทศ. สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2564, จาก https://www.eef.or.th/about/annual-and-action-plan/annualreport/
จุฬาภรณ์ โสตะ. (2545). การพัฒนาศักยภาพการนำนโยบายในแผนการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์แห่งชาติ ไปสู่ การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ไทย. สืบค้นเมื่อ 16 กรกฎาคม 2564, จาก http://www.tnrr.in.th/?page=result_search&record_id=295860
คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา. (2562). รายงานพันธกิจปฏิรูปการศึกษาไทย. สืบค้นเมื่อ 4 สิงหาคม 2564, จาก http://www.onec.go.th/th.php/book/BookView/1734
ชลิดา หนูหล้า. (2564). ปั้นครู เปลี่ยนโลก ถอดนโยบายสร้างครูแห่งศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: Bookscaps.
ฐานันดร วงศ์กิตติธร; &ลลิตา ผลผลา. (2563). สอนเปลี่ยนชีวิต 7 ชุด ความคิดพลิกห้องเรียน เพื่อเด็กทุกคน. กรุงเทพฯ: Bookscaps.
ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์. (2564). อัตราการเจริญเติบโตของจังหวัดและความเหลื่อมล้ำของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: บริษัท พี.เอ.ลิฟวิ่ง จำกัด.
ภูษิต ประคองสาย. (2559). การสาธารณสุขไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์กาสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
ศูนย์ธุรกิจสัมพันธ์ กรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ. (2563). ประเทศแอฟริกาใต้. สืบค้นเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2564, จาก https://globthailand.com/market
ศุภกร ศรีแผ้ว. (2562). ปัญหาเวชปฏิบัติปฐมภูมิยุคใหม่และการดูแล. สงขลา: ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและเวชศาสตร์ป้องกัน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
สรวงมณฑ์ สิทธิสมาน. (2558). บทเรียน (ปฏิรูปการศึกษา) จากเซี่ยงไฮ้ คิดทั้งระบบ-เน้นที่ความสุขของผู้เรียน. สืบค้นเมื่อ 1 มิถุนายน 2564, จาก https://mgronline.com/qol/detail/9580000125315
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน. (2560). กลุ่มประเทศตลาดใหม่. สืบค้นเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2564, จาก https://toi.boi.go.th/information/worldwide/59
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2563). การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ.2562. กรุงเทพฯ: สำนักงานสถิติแห่งชาติ.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2563). เกี่ยวกับ PISA. สืบค้นเมื่อ 1 มิถุนายน 2564, จาก https://pisathailand.ipst.ac.th/about-pisa/.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2563). รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์ความยากจนและ เหลื่อมล้ำของประเทศไทย ปี 2562. กรุงเทพฯ: สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565). สภาพัฒน์รายงานข้อเท็จจริงเกี่ยวกับรายงานของธนาคารโลก 27 ตุลาคม 2565. https://www.nesdc.go.th/ewt_news.php?nid=13151&filename=index สืบค้นเมื่อ 28 ตุลาคม 2565.
สำนักนโยบายและแผนการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2561). แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี พ.ศ. 2561- 2580. กรุงเทพฯ: บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.
สมชัย จิตสุชน. (2564). พินิจเศรษฐกิจการเมือง: เดินหน้าจัดหาและกระจายวัคซีนอย่างไร เพื่อให้ผ่านวิกฤตได้ โดยเร็ว. สืบค้นเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2564. จาก https://tdri.or.th/2021/07/curadio-160/
Fry, G. W. (1983). Empirical indicators of educational equity and equality: A Thai case study. Social Indicators Research, 12, 199–215. https://doi.org/10.1007/ BF00318236
Harnois, C. E. (2018). Analyzing inequalities: An introduction to race, class, gender, and sexuality using the general social survey. SAGE.
HISTORY. (2021). Great Depression History. Retrieved June 10, 2021. from https://www.history.com/topics/great-depression/great-depression-history
Lee Joung-woo. (2006). THE POLITICAL ECONOMY OF SOUTH KOREA: ECONOMIC GROWTH, DEMOCRATIZATION, AND FINANCIAL CRISIS. Retrieved June 19, 2021. From https://core.ac.uk/download/pdf/56353979.pdf
McKay, A. (2002). Defining and measuring inequality. Inequality Briefing, 1, 1-6.
Ministry of Social Affairs and Health. (2020). STRATEGY 2030. Retrieved July 15, 2021. from https://stm.fi/en/strategy02/16/content_5041672.html
Muhammad Yunus. (2018). A World of Three Zeros: The New Economics of Zero Poverty, Zero Unemployment, and Zero Net Carbon Emissions. Dhaka: Hachette Audio.
Münich, D., Plug, E. (2012). Equity in and through education and training: Indicators and priorities. the European Commission.
PISA Thailand. (2563). ผลการประเมิน PISA 2018. Retrieved June 22, 2021, from https://pisathailand.ipst.ac.th/news-12/
Plaza Homes. (2021). Furusato Nozei: How to Benefit from Japan's Hometown Tax. Retrieved June 22, 2021, from https://www.realestate-tokyo.com/living-in-tokyo/japanese-taxes/furusato-nozei/
United Nations Development Programme. (2019). Human Development Report 2019. Retrieved July 18, 2021, from https://www.undp.org/publications/undp-annual-report- 2019utm_source=EN&utm_medium=GSR&utm_content=US_UNDP_PaidSearch_Brand_English&utm_campaign=CENTRAL&c_src=CENTRAL&c_src2=GSR&gclid=Cj0KCQiAsqOMBhDFARIsAFBTN3frjG8i3pTLZ3Nge9bUiKp0PtiVjPPt9aPuE94i3K5RcNra2hbkbMaAvYZEALw_wcB
Woessmann, L., & Schütz, G. (2006). Efficiency and equity in European education and training systems. Retrieved June 10, 2021, from http://lst-iiep.iiep-unesco.org/cgi-bin/wwwi32.exe/ [in=epidoc1.in]/?t2000=024077/(100)
Zheng X.Y. (2019). รายงานการประเมินผลการใช้นโยบายลดความยากจนอย่างตรงจุด. National Academy of Development and Strategy, Renmin University of China. Retrieved July 18, 2021, from http://ae.ruc.edu.cn/docs/201908/4632c8c5c4154e84ae03a432bc5e981a.pdf