ปัจจัยการใช้แอปพลิเคชันสำหรับผู้ซื้อที่อยู่อาศัยใหม่ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

Factors Affecting the Use of Application for New Residential Buyers in Bangkok and Metropolitan Region

Authors

  • พนิดา ภูมลี บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
  • วรัญญา ติโลกะวิชัย บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

Keywords:

แอปพลิเคชัน , การให้บริการ, ผู้ซื้อที่อยู่อาศัยใหม่

Abstract

           งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้แอปพลิเคชันสําาหรับผู้ซื้อที่อยู่อาศัยใหม่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 2) ศึกษาคุณภาพการให้บริการที่ส่งผลต่อการใช้แอปพลิเคชันสําาหรับผู้ซื้อที่อยู่อาศัยใหม่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยกลุ่มตัวอย่างจําานวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ ที่ส่งผลต่อการใช้แอปพลิเคชัน ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ลักษณะที่อยู่อาศัย ที่ระดับนัยสําาคัญทางสถิติ 0.05 ส่วนองค์ประกอบของการจัดรูปแบบเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน ด้านการพาณิชย์ บริบท เนื้อหา ความเป็นชุมชน การปรับแต่งและการสื่อสาร ส่งผลต่อการใช้แอปพลิเคชันสําาหรับผู้ซื้อที่อยู่อาศัยใหม่ ที่ระดับนัยสําาคัญทางสถิติ 0.05 2) คุณภาพการให้บริการพบว่าความเป็นรูปธรรม ความน่าเชื่อถือ การตอบสนองการให้ความเชื่อมั่น และการเอาใจใส่ ส่งผลต่อการใช้แอปพลิเคชันสําาหรับผู้ซื้อที่อยู่อาศัยใหม่ ที่ระดับนัยสําาคัญทางสถิติ 0.05

References

กุลธิดา เหลืองไพรินทร์. (2557). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อคอนโดมิเนียม ศุภาลัย ปาร์ค ราพฤกษ์–เพชรเกษม ของผู้บริโภคในเขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ บธ.ม. (การตลาด). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสยาม. ถ่ายเอกสาร.

จุฑารัตน์ เกียรติรัศมี. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อการซื้อสินค้าผ่านทางแอปพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภค ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. การค้นคว้าอิสระ บธ.ม.(บริหารธุรกิจ). กรุงเทพฯ: คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ถ่ายเอกสาร.

ชูชาติ พินธุกนก. (2556). Copfinder: แอปพลิเคชันสําาหรับการค้นหาสถานีตําารวจและหมายเลขฉุกเฉิน. สารนิพนธ์ วท.ม. (วิศวกรรมเว็บ). นนทบุรี: คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. ถ่ายเอกสาร.

ณัฐพล แสงชัน. (2560). การศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุนธุรกิจแอปพลิเคชันมือถือสําาหรับค้นหาศูนย์บริการรถยนต์ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. การค้นคว้าอิสระ บธ.ม(การจัดการสําาหรับการเป็นผู้ประกอบการ). กรุงเทพฯ: วิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. ถ่ายเอกสาร.

ทิพย์อนงค์ เจียรสถาวงค์. (2557). การศึกษาความพึงพอใจในเรื่องการเลือกบริษัทผู้รับเหมาก่อสร้างขนาดเล็กของประชากรในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. การค้นคว้าอิสระ บธ.ม.(บริหารธุรกิจ). กรุงเทพฯ: คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ถ่ายเอกสาร.

นนท์ธิชัย สุขมหา. (2558). แผนธุรกิจแอปพลิเคชัน FIXXHOME. การค้นคว้าอิสระ บธ.ม. (วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. ถ่ายเอกสาร.

ภัทรดนัย พิริยะธนภัทร. (2558). การศึกษาปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ ด้านพฤติกรรมผู้บริโภคและปัจจัยด้านเว็บไซต์พระเครื่องพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีผลต่อการตัดสินใจเช่าหรือประมูลพระเครื่องออนไลน์ (E-COMMERCE). การค้นคว้าอิสระ บธ.ม. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. ถ่ายเอกสาร.

ภานุพงศ์ ลือฤทธิ์. (2560). คุณภาพการบริการอิเล็กทรอนิกส์ในการสร้างความพึงพอใจของผู้ใช้งาน:กรณีตัวอย่างของแอปพลิเคชันกระเป๋าเงินบนโทรศัพท์มือถือ. การค้นคว้าอิสระ วท.ม.(ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ). กรุงเทพฯ: คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ถ่ายเอกสาร.

ภาวิณี กาญจนาภา. (2559). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: สําานักพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.

รัตน์สินี ออมสินสมบูรณ์. (2559). การศึกษาแนวทางการพัฒนาโมบายแอปพลิเคชันประเภทการคมนาคมขนส่งทางบก, การค้นคว้าอิสระ วท.ม. (นโยบายและการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ). กรุงเทพฯ: วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ถ่ายเอกสาร.

ศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ ธนาคารอาคารสงเคราะห์. (2563). สถานการณ์ตลาดที่อยู่อาศัยกรุงเทพฯ -ปริมณฑลไตรมาส 4 ปี 2562 และแนวโน้มปี 2563. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2563, จาก https://www.reic.or.th

สํานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค. (2562). รายงานเปรียบเทียบเรื่องร้องทุกข์รายปี. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2563, จาก http://ccms.ocpb.go.th/Dashboard/D_Year.aspx

สํานักยุทธศาสตร์ สํานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม.(2563). รายงานผลการสําารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2563 ThailandInternet User Behavior 2020. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2563, จาก https://www.etda.or.th/getattachment/c5835c06-e238-4cda-9816-814df31caca5/IUB_2020_Web.pdf.aspx

เสมอ นิ่มเงิน. (2562). เทคโนโลยี 5G จุดเปลี่ยนของเทคโนโลยีครั้งใหญ่ของไทย. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2563, จาก https://original.prd.go.th/download/article/article_20200522145330.pdf

เอกภณ จีวะสุวรรณ, กองกูณฑ์ โตชัยวัฒน์, และพรพรรณ วีระปรียากูร. (2553). ปัจจัยการเพิ่มมูลค่าในตัวบ้านที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อบ้านที่ไม่ใช่โครงการ. สุทธิปริทัศน์. 24(73): 89-100.

Cochran, W.G. (1977). Sampling Techniques. New York: John Wiley & Sons.

Cronbach, L.J. (1990). Essentials of Psychological Testing. New York: Harper Collins Publishers.

Parasuraman, A.; Zeithaml, V. A.; & Berry, L. L. (1988). SERVQUAL: A Multiple-Item Scale for Measuring Consumer Perceptions of Service Quality. Journal of Retailing.64(1): 12-40.Rayport, J.; & Jaworski, B. (2001). Introduction to E – Commerce. New York: McGraw-Hill.

Downloads

Published

2024-04-29