การสร้างภาพลักษณ์ใหม่เกี่ยวกับผู้สูงอายุด้วยกระบวนการ การรับรู้ตราสินค้า

Reinventing a New Identity on the Elderly with a Brand Perception Process

Authors

  • ปรมะ ตันเดชาวัฒน์ นักวิจัยอิสระ

Keywords:

ภาพลักษณ์ใหม่, ผู้สูงอายุ, การรับรู้ตราสินค้า

Abstract

          ผลกระทบของผู้สูงอายุที่มากขึ้นและอัตราการเกิดของประชากรลดลง ส่งผลให้ทั่วโลกและประเทศไทยต้องประสบกับปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมจะตามมา อาทิ เศรษฐกิจของประเทศพัฒนาช้าลง งบประมาณสวัสดิการของรัฐด้านผู้สูงอายุมากขึ้นและการลดคุณค่าในตัวเองในการพัฒนาประเทศของผู้สูงอายุในปัจจุบันภาพลักษณ์ของผู้สูงอายุในทัศนะของคนรุ่นใหม่มีคุณค่าลดลงทั้งความสามารถและสติปัญญา ส่งผลกระทบต่อสุขภาพทางจิตใจของผู้สูงอายุเป็นอย่างมาก  ด้วยเหตุนี้ กระบวนการสร้างกระบวนการรับรู้ตราสินค้าจึงถูกประยุกต์ในการสร้างภาพลักษณ์ใหม่ให้กับผู้สูงอายุ เพราะถ้าผู้สูงอายุมีภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น จะยกระดับทั้งความสามารถในการพัฒนาประเทศและสร้างคุณค่าต่อตัวผู้สูงอายุเอง รวมถึงถ่ายทอดองค์ความรู้ที่เปี่ยมด้วยประสบการณ์ชีวิตสู่คนรุ่นใหม่ เพื่อให้ประเทศไทยก้าวสู่การเป็นประเทศที่พัฒนาในอนาคตอันใกล้นี้อย่างมีประสิทธิภาพ

References

กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2564) สถิติผู้สูงอายุผู้ใช้บริการภายใน ศพส เดือนพฤศจิกายน 2564. สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2565, จาก https://www.dop.go.th/th/know/1

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2564, 3 มีนาคม). ยุทธศาสตร์กรมกิจการผู้สูงอายุ 20 ปี. สืบค้น เมื่อ 5 ธันวาคม 2564, จาก http://www.dop.go.th/th/know/5/138

ปิยะชาติ อิศรภักดี. (2559). Branding 4.0 from Human Spirit to Your Spirit. กรุงเทพฯ: อมรินทร์ฮาวทูอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

ภารดี นานาศิลป์. (2558). แกนความรู้การพยาบาลผู้สูงอายุ : ผู้สูงอายุคือใคร อายุ หรือ ปัจจัยใดช่วยกำหนด.

พยาบาลสาร. 42(ธันวาคม 2558): 156-162.

สโรชพันธุ์ สุภาวรรณ์ และ ชไมพร กาญจนกิจสกุล. (2557). การประกอบสร้างภาพลักษณของผู้สูงอายุ. วารสารสังคมศาสตร์. 10(1): 93-136.

สโรชพันธุ์ สุภาวรรณ์. (2559). ปฏิบัติการในชีวิตประจำวันกับการต่อรองอัตลักษณ์ของผู้สูงอายุ. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 42(2): 34-58.

สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน. (2564, 29 กรกฏาคม). ข้อมูลสถิติประชากร. สืบค้นเมื่อ 13 มกราคม 2565, จากhttps://www.boi.go.th/index.php?page=demographic&language=th

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2562). แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (11) การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิตแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2680. สืบค้นเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2564, จาก http://nscr.nesdc.go.th

หนึ่งฝัน พุทธธรรมวงศ์. (2563). วยาคติต่อผู้สูงอายุในครอบครัว: การวิจัยผสานวิธี. ปริญญานิพนธ์ ปร.ด. (การวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

โอ-ลั้นลา. (2565). นิตยสาร โอ-ลั้นลา. สืบค้นเมื่อ 25 กรกฎาคม 2565, จาก http://www.olunla.net/lunla-home/index.php

Aaker, David A. (1996). Building Strong Brands. New York: The Free Press.

Arruda, William (2016, September 6). The Most Damaging Myth About Branding, Retrieved on January 15, 2022, from https://www.forbes.com/sites/williamarruda/2016/09/06/the-most-damaging-myth-about-branding/?sh=4c15840d5c4f

Aslam, Wajeeha.; Ham, Marija.; & Farhat, Kashif. (December 2018). Influencing Factors of Brand Perception on Consumers’ Repurchase Intention: An Examination of Online Apparel Shopping. Retrieved on January 6, 2022, from https://www.researchgate.net/publication/329716323

Bishop, Ashton. (April 16, 2019). Brand Valuation: Measuring the Value of A Brand, Retrieved on January 3, 2022, from https://blog.hellostepchange.com/blog/brand-valuation-measuring-the-value-of-a-brand

Gupta, S.; Gallear, D.; Rudd, J.; & Foroudi, P. (2020). The Impact of Brand Value on Brand Competitiveness. Journal of Business Research. 112: 210-222.

Johnson, Michael. (2018). Branding in Five and a Half Steps. London: Thames and Hudson.

Kreitner, Robert.; & Kinicki, Angelo. (2007). Organization Behavior. 7th ed. IL: McGraw-Hill

Lock, S. (2021, November 3). Brand Value of Starbucks Worldwide from 2010 to 2021. Retrieved on January 8, 2022, from https://www.statista.com/statistics/1033406/starbucks-brand-value-worldwide/

Neap, Halil Shevket; & Celik, Tahir. (1999). Value of Product: A Definition. International Journal of Value-Based Management. 12(2): 181-191.

Romaniuk, Jenni; & Sharp, Byron. (2003). Measurement and Analysis for Marketing. Journal of Targeting. 11(3): 218-229.

Roper, Stuart; & Parker, Cathy. (2006). Evolution of Branding Theory and Its Relevance to the Independent Retail. The Marketing Review. 6(1): 57-59

Statista Research Department. (2021, Oct 12). Most Valuable Brands Worldwide 2021. Retrieved on January 8, 2022, from https://www.statista.com/statistics/264875/brand-value-of-the-25-most-valuable-brands/Most valuable brands worldwide in 2021

Wheeler, Alina. (2018). Designing Brand Identity: An Essential Guide for the Entire Branding Team. New Jersey: John Wiley & Sons

Downloads

Published

2023-02-17