การศึกษาผลกระทบด้านเศรษฐกิจและสังคมของนักเรียนข้ามชาติชั้นประถมศึกษา: กรณีศึกษา อําเภอเมืองสมุทรสาคร
A Study of Socio-economic Impacts of Multinational Pupils: A Case Study of Mueang Samut Sakhon
Keywords:
นักเรียนข้ามชาติ, ผลกระทบด้านเศรฐกิจ, ผลกระทบด้านสังคม, โรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาครAbstract
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลกระทบด้านเศรษฐกิจและสังคมจากการมีนักเรียนข้ามชาติเข้าศึกษาในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร ในอําเภอเมืองสมุทรสาคร การวิจัยเชิงปริมาณครั้งนี้ใช้วิธีการสํารวจด้วยแบบสอบถามครูและผู้ปกครองของนักเรียนไทยจําานวน 423 คน เกี่ยวกับผลกระทบด้านเศรษฐกิจและสังคมผ่านมุมมองของครูจากการมีนักเรียนข้ามชาติเข้าศึกษาร่วมกับนักเรียนไทยและมุมมองของผู้ปกครองของนักเรียนไทยที่มีบุตรหลานเรียนร่วมกับนักเรียนข้ามชาติ ประกอบด้วย 3 สัญชาติ ได้แก่ เมียนมา ลาว และกัมพูชา ผลการศึกษาพบว่าผลกระทบด้านเศรษฐกิจในมุมมองของครูเป็นผลกระทบด้านบวกระดับน้อย และในมุมมองของผู้ปกครองเป็นผลกระทบด้านลบในระดับมาก ส่วนผลกระทบในด้านสังคมพบว่า ในมุมมองของครูเป็นผลกระทบด้านลบอยู่ระดับน้อย แต่ในมุมมองของผู้ปกครองกลับพบว่าไม่มีผลกระทบReferences
กฤตยา อาชวนิจกุล. (2546). สถานะความรู้เรื่องแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยและทิศทางการวิจัยที่พึงพิจารณา. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากร และสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
ฐิติมดี อาพัทธนานนท์. (2556). การศึกษาของนักเรียนต่างด้าวในโรงเรียนรัฐไทย. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 33(1): 111-130.
ทรงชัย ทองปาน. (2558). หัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัยทางภูมิศาสตร์: แนวทางการพัฒนาข้อเสนอการวิจัย. ปทุมธานี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
นัยน์ปพร สิปปภาส. (2551). ความมั่นคงของมนุษย์ด้านการศึกษา: ศึกษากรณีบุตรแรงงานต่างด้าวในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร. ปริญญาสังคมวิทยามหาบัณฑิต (สังคมวิทยา). กรุงเทพฯ:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ถ่ายเอกสาร.
บัญญัติ ยงย่วน, ปนัดดา ธนเศรษฐกร และวสุนันท์ ชุ่มเชื้อ. (2553). การพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาพหุวัฒนธรรมในโรงเรียนประถมศึกษา. กรุงเทพฯ: กระทรวงวัฒนธรรม.
เปมิกา สนิทพจน์. (2560). ความมั่นคงด้านแรงงานของไทยกับอนาคตด้านการศึกษาของผู้ติดตามแรงงานข้ามชาติ. วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยตําารวจ.3(2): 1-10.
พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พุทธศักราช 2550. (2550). ราชกิจจานุเบกษา.หน้า 1-15.
รัตนพงศ์ ตุมพสุวรรณ. (2553). การวิเคราะห์มุมมองของครูในการจัดการเรียนการสอนเด็กต่างด้าวในโรงเรียน : การวิจัยเชิงผสม. ปริญญานิพนธ์ ค.ม. (วิธีวิทยาการวิจัยการศึกษา). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ถ่ายเอกสาร.
รัตนา จักกะพาก. (2558). การพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาสําหรับบุตรแรงงานต่างด้าวในประเทศไทย. ปริญญานิพนธ์ ปร.ด. (พัฒนศึกษา). นครปฐม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. ถ่ายเอกสาร.
รุ่งภพ คงฤทธิ์ระจัน. (2554). การศึกษาปัญหาและแนวทางแก้ไขเด็กไร้สถานะในจังหวัดสมุทรสาคร. กรุงเทพฯ: สํานักงานเลขาธิการวุฒิสภา.
วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2561). สิทธิการศึกษาของเด็กไร้สัญชาติ กรณีศึกษาโรงเรียนบ้านโป่งน้อย อําาเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์. 9(2): 123-156.
วิภาดา โนตา. (2552). สภาพการอยู่อาศัยของแรงงานต่างด้าวในจังหวัดสมุทรสาคร: กรณีศึกษาชุมชนวัดตึก. ปริญญานิพนธ์ คพ.ม. (เคหการ). กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ถ่ายเอกสาร.
ศิริภา ใจมุข. (2554). การปรับตัวด้านการเรียนและสังคมของนักเรียนต่างด้าวชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านห้วยไซ อําเภอบ้านธิ จังหวัดลําพูน. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ถ่ายเอกสาร.
สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย. (2557). การศึกษาของบุตรหลานแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย เอกสารเชิงนโยบาย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโตโยต้า.
สํานักบริหารแรงงานต่างด้าว. (2562). สถิติจําานวนคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตทําางาน คงเหลือทั่วราชอาณาจักร ประจําาเดือน ธันวาคม 2562. กรุงเทพฯ: กรมการจัดหางาน.
สํานักบริหารและพัฒนาเทคโนโลยีการทะเบียน. (2562). จํานวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ธันวาคม 2562. ปทุมธานี: กรมการปกครอง.
สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. (2548). การดําเนินการตามยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคลตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 18 มกราคม 2548. กรุงเทพฯ: กระทรวงมหาดไทย.
สํานักงานกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา. (2562) คู่มือการดําเนินงานการรับเงินอุดหนุนนักเรียนยากจนพิเศษแบบมีเงื่อนไข (นักเรียนทุนเสมอภาค). กรุงเทพฯ: กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา.
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร. (2561). ข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา สําานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร ประจําาปีการศึกษา 2561. สมุทรสาคร:สําานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร.
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2563). แนวทางการบริหารจัดการระบบจัดเก็บข้อมูลนักเรียนรายบุคคล (Data Management Center: DMC). กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.
สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2561). รายงานการจัดการศึกษาสําาหรับเด็กที่ไม่มีสัญชาติไทยและบุตรหลานแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดสมุทรสาคร. (2560). แผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ. 2562-2565 จังหวัดสมุทรสาคร. สมุทรสาคร: สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดสมุทรสาคร.
Anitha, George; Pamela, Meadows; Hilary, Metcalf; and Heather, Rolfe. (2011). Impact of Migration on the Consumption of Education and Children’s Services, Social Care and Social Services. London: National Institute of Economic and Social Research.
Heckmann, Friedrich. (2008). Education and Migration Strategies for Integrating Migrant Children in European Schools and Societies: A Policy-Relevant Synthesis of Research Findings. Retrieved July 20, 2020, from http://www.nesse.fr/nesse/activities/reports/ activities/reports/education-and-migration-pdf
Unicef. (2019). Education Knows No Broder:A Collection of Good Practices and Lessons Learned on Migrant Education in Thailand. Retrived August 28, 2020,from https://www.unicef.org/thailand/media/3696/file/Education%20knows%20no%20border%20-%20report.pdf